วันจันทร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2556

Barcode Label Sticker เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

Barcode Label Sticker เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร  

Barcode Label Sticker

สติกเกอร์ลาเบล (Label Sticker) สำหรับงานพิมพ์บาร์โค้ด (Barcode) งานสลากสินค้าต่างๆ มีหลายขนาดให้เลือก แบ่งเป็น

 

  1. สติกเกอร์เนื้อกระดาษ - เหมาะสำหรับใช้งานทั่วไป มีแบบหลักๆคือ
    • แบบขาวมัน (Glossy White Paper Label Sticker) - ราคาไม่แพง มีผิวเป็นมันวาว
    • แบบกึ่งมันกึ่งด้าน (Semi Gloss Label Sticker) - ราคาไม่แพง เหมาะสำหรับพิมพ์บาร์โค้ด
    • แบบขาวด้าน (Paper Matte Label Sticker) - ราคาปานกลาง
  2. สติกเกอร์เนื้อพลาสติก/เนื้อ Polyester - มีความคงทนสูง ทนต่อสารเคมี

ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร Barcode Label Sticker

ชนิดผ้าหมึก ริบบอน บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

ชนิดผ้าหมึก ริบบอน บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร  

Barcode Ribbon (Thermal Transfer Ribbon)

General Purpose Wax Barcode Ribbon - TTR เป็น Wax - TTR ที่ให้ประสิทธิภาพดีปานกลาง ใช้ได้กับ Labels ค่อนข้างหลากหลายรูปแบบ และใช้ได้กับเครื่องพิมพ์หลากหลายรุ่น เหมาะกับงานที่ต้องการความรวดเร็ว และประหยัดราคาต้นทุน พิมพ์ได้คมชัดในระดับดีและทนทานต่อการขูดขีดและลบเลือนได้ในระดับพอใช้ High Sensitivity Wax Barcode Ribbon - TTR เป็น Wax - TTR ที่เหมาะสำหรับงานพิมพ์ทั่วๆไป ที่ต้องการประหยัด มีประสิทธิภาพดีเยี่ยมในการใช้งานกับ labels ได้หลากหลายรูปแบบ ซึ่งนอกจากจะได้รับการออกแบบให้สามารถใช้ได้กับเครื่องรุ่นประหยัดพลังงานแล้ว ยังถือได้ว่าเป็นหมึกรุ่นที่พิมพ์ง่าย ให้ความเข้มและความคมชัดสูง ทนต่อการขูดขีดและการลบเลือนได้ในระดับปานกลาง High Sensitivity Premium Wax Barcode Ribbon - TTR เป็น Wax - TTR ที่เหมาะสำหรับงานพิมพ์ทั่วๆไป ที่ต้องการคุุุณภาพระดับปานกลาง มีประสิทธิภาพดีเยี่ยมในการใช้งานกับ labels ได้หลากหลายรูปแบบ ซื่งนอกจากจะได้รับการออกแบบให้สามารถใช้ได้กับเครื่องรุ่นประหยัดพลังงานแล้ว ยังถือได้ว่าเป็นหมึกรุ่นที่พิมพ์ง่าย ให้ความเข้มและความคมชัดสูง ทนต่อการขูดขีดและการลบเลือนได้ในระดับดี Premium Durable Wax Barcode Ribbon - TTR เป็น Premium Wax - TTR ที่ได้รับการพัฒนาให้มีคุณสมบัติเข้าใกล้ Resin - TTR เหมาะสำหรับงานที่ต้องการความคงทนถาวรมากกว่างานทั่วๆไป มีประสิทธิภาพดีเยี่ยมในการใช้งานกับ labels ได้หลากหลายรูปแบบ ซื่งนอกจากจะได้รับการออกแบบให้สามารถใช้ได้กับเครื่องรุ่นประหยัดพลังงานแล้ว ยังถือได้ว่าเป็นหมึกรุ่นที่พิมพ์ง่าย ให้ความเข้มและความคมชัดสูง รวมทั้งมีความทนทานต่อการขูดขีดและลบเลือนได้ในระดับดีมาก Premium Durable Resin Barcode Ribbon - TTR เป็น Resin - TTR ที่มีประสิทธิภาพดีเยี่ยมในการใช้งานกับ labels ชนิด Polyester และพลาสติกอื่นๆ ซึ่งเหมาะกับงานที่ต้องการความทนทานต่อรอยขีดข่วนและทนต่อตัวทำละลายต่างๆ อีกทั้งยังให้งานพิมพ์มีความเข้มและคมชัดมากเป็นอย่างมาก
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร ชนิดผ้าหมึก ริบบอน บาร์โค้ด

ประเภทสติ๊กเกอร์ และลาเบล บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

ประเภทสติ๊กเกอร์ และลาเบล บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร   sticker สติ๊กเกอร์
  • สติ๊กเกอร์ต่อเนื่อง
  • สติ๊กเกอร์กันปลอม
  • สติ๊กเกอร์โฮโลแกรม
  • สติ๊กเกอร์ฉลากยา
  • สติ๊กเกอร์งาน offset
  • สติ๊กเกอร์เข้างาน
  • สติ๊กเกอร์วงกลมไดคัทเข้ารูป
  • สติ๊กเกอร์ระบบแผ่นและม้วน
  • สติ๊กเกอร์ผลส้ม สติ๊กเกอร์ผลไม้
  • มีทั้งสติ๊กเกอร์แบบกระดาษ ขาวมัน ขาวด้าน สติ๊กเกอร์ PVC PP ทั้งแบบ ขาวมัน ใส เงินเงา
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสติ๊กเกอร์
Label ฉลากบรรจุภัณฑ์
  • สติ๊กเกอร์ฉลากบรรจุภัณฑ์
  • สติ๊กเกอร์ฉลากยา
  • ฉลากขวด ฉลากอาหาร ฉลากสคบ ฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร
  • ฉลาก OTOP ฉลากขวดเหล้า ฉลากขวดไวน์
  • ฉลากสินค้า

  • มีทั้งสติ๊กเกอร์แบบกระดาษ ขาวมัน ขาวด้าน สติ๊กเกอร์ PVC PP ทั้งแบบ ขาวมัน ใส เงินเงา
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร ประเภทสติ๊กเกอร์ และลาเบล บาร์โค้ด

สติ๊กเกอร์บาร์โค้ดแบบกึ่งมันกึ่งด้าน เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

สติ๊กเกอร์บาร์โค้ดแบบกึ่งมันกึ่งด้าน เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร   ลักษณะงานที่นำไปใช้ : การนำสติ๊กเกอร์บาร์โค้ด แบบ AL มาประยุกต์การใช้งานต่างๆได้ดังนี้ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมอาหาร งานอิเล็คทรอนิกส์ การขนส่ง งานพิมพ์ ส.ค.บ. ฯลฯ เหมาะกับงานที่ไม่มี ความชื้น ความร้อน หรือต้องผ่านห้องเย็น เพราะสติ๊กเกอร์เป็นเนื้อกระดาษหากโดนน้ำหรือความชื้นอาจทำให้สติ๊กเกอร์ขาดหรือหมึกหลุดร่อนได้   จุดเด่น : สติ๊กเกอร์กึ่งมันกึ่งด้านเนื้อกระดาษมันขาวสวย ราคาย่อมเยา ใช้ได้หลากหลายในงานทั่วไป     ผ้าหมึกที่ต้องใช้คู่กับกระดาษ : ผ้าหมึกที่ใช้คู่กับสติ๊กเกอร์กึ่งมันกึ่งด้านจะเป็น Ribbon Wax จะเป็นผ้าหมึกธรรมดาใช้ในงานทั่วไป ราคาย่อมเยาช่วยลดต้นทุน แต่ถ้า ลูกค้าต้องการในเรื่องความคงทน ไม่หลุดร่อน ต้องใช้เป็น Ribbon Wax Resin ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับชิ้นงานของลูกค้า
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร สติ๊กเกอร์บาร์โค้ดแบบกึ่งมันกึ่งด้าน

Barcode Reader คือ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

Barcode Reader คือ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร   Barcode reader คืออะไร Barcode reader หรือ ตัวอ่าน barcode มีการเรียกว่า Price scanner หรือ point-of-sale (POS) scanner เป็นอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลแบบพกพาได้และติดตายใช้ในการจับและอ่านสารสนเทศที่ เก็บใน barcode ตัวอ่าน barcode ประกอบด้วยตัวสแกน ตัวถอดรหัส (มีทั้งติดอยู่ในตัวหรือภายนอก) และสายเคเบิลที่เชื่อมตัวอ่านกับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากตัวอ่าน barcode จับและแปล barcode เป็นตัวเลขหรือตัวอักษร ข้อมูลต้องได้รับการส่งไปยังคอมพิวเตอร์ ดังนั้นซอฟต์แวร์สามารถทำข้อมูลเข้าใจได้ ตัวสแกน barcode สามารถได้รับการเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ผ่านพอร์ตพิเศษ พอร์ตแป้นพิมพ์ หรืออุปกรณ์อินเตอร์เฟซที่เรียกว่า wedge ตัวอ่าน barcode ทำงานโดยลำแสงตรงตัด barcode และวัดจำนวนรวมของแสงที่สะท้อนกลับ (แท่งสีดำสะท้อนแสงน้อยกว่าช่องว่างระหว่างแท่ง) ตัวสแกนแปลงกลับพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งแปลงไปเป็นข้อมูลโดยตัวถอดรหัสและส่งต่อไปยังคอมพิวเตอร์ ตัวอ่าน barcode มี 5 ประเภทพื้นฐาน คือ pen wands, slot scanners, Charge-Couple Device (CCD) scanners, image scanners และ laser scanners • pen wand เป็นตัวอ่าน barcode อย่างง่าย โดยเป็นชิ้นย้ายไม่เคลื่อนย้ายและรู้กันว่ามีความคงทนและราคาต่ำ pen wand สามารถท้าทายผู้ใช้ เพราะต้องมีติดต่อโดยตรงกับ barcode ต้องมีองศาถูกต้อง และต้องเคลื่อนที่ bar code ด้วยความเร็วคงที่ • slot scanner เป็นแบบติดตั้งตายตัวและสินค้าติอ barcode ต้องผลักด้วยมือผ่านสล๊อต โดยปกติ slot scanner ใช้สแกน barcode บนบัตรประจำตัว • CCD scanner มีช่วงการอ่านดีกว่า pen wand และมักจะใช้ในร้านค้าย่อย ตามปกติ CCD scanner มีการอินเตอร์เฟซเป็น “ปืน” และต้องจับห่างไม่เกิน 1 นิ้วจาก barcode การสแกน barcode แต่ละครั้ง เกิดการอ่านหลายครั้งเพื่อลดความผิดพลาด ข้อเสียเรียบของ CCD scanner คือไม่สามารถอ่าน barcode กว้างกว่าผิวหน้านำเข้าได้ • image scanner หรือเรียกว่า camera reader ใช้กล้องวิดีโอขนาดเล็กในการจับภาพของ barcode และใช้เทคนิคประมวลผลภาพดิจิตอลทันสมัยในการถอดรหัส barcode การอ่าน barcode สามารถอ่านได้ห่าง 3 – 9 นิ้วและโดยทั่วไปราคาถูกกว่า laser scanner • laser scanner มีทั้งแบบพกพาได้และติดตายตัว การอ่านไม่ต้องใกล้กับ barcode การทำงานใช้ระบบกระจกและเลนส์ในการสแกนเพื่ออ่าน barcode และสามารถอ่านได้ห่างถึง 24 นิ้ว เพื่อลดความผิดพลาด laser scanner อาจจะทำการสแกน 500 ครั้งต่อ 1 วินาที laser scanner ช่วงไกลพิเศษมีความสามารถในการอ่าน barcode ได้ไกลถึง 30 ฟุต  
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร Barcode Reader คือ

ประเภทเครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

ประเภทเครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร    

เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) และหลักการอ่านบาร์โค้ด

เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะใช้ระบบการสะท้อนของแสง โดยการส่งแสงไปยังแท่งบาร์โค้ดจากนั้นแล้วรับแสงที่สะท้อนกลับไป โดยที่ส่วนไหนเป็นบาร์จะดูดกลืนแสง ส่วนไหนเป็นช่องว่างจะสะท้อนแสงกลับมายังเครื่องรับ
เครื่องอ่านบาร์โค้ด และหลักการอ่านบาร์โค้ด
เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบ่งการอ่านเป็น 2 รูปแบบคือ 1. Contact - เป็นเครื่องอ่านที่ต้องใช้การสัมผัสกับแท่งบาร์โค้ด ตัวอย่างเครื่องอ่านเช่น Wand
Bar Codes Contact
2. Non Contact - เป็นเครื่องอ่านที่ไม่ต้องสัมผัสกับแท่งบาร์โค้ด ตัวอย่างเครื่องอ่านเช่น CCD, Laser
Bar Codes Laser
 
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร ประเภทเครื่องอ่านบาร์โค้ด

รีวิวเครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

รีวิวเครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร    

รีวิว เครื่องอ่านบาร์โค้ด ( Symbol LS-2208 Barcode Review )

LS2208บาร์โค้ด (barcode) หรือในภาษาไทยเรียกว่า “รหัสแท่ง” คือ การแทนข้อมูลที่เป็นรหัสเลขฐานสอง (Binary codes) ในรูปแบบของแถบสีดำและขาวที่มีความกว้างของแถบที่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับตัวเลขที่กำกับอยู่ข้างล่าง การอ่านข้อมูลจะอาศัยหลักการสะท้อนแสง เพื่ออ่านข้อมูลเข้าเก็บในคอมพิวเตอร์โดยตรงไม่ต้องผ่านการกดปุ่มที่แป้นพิมพ์ ระบบนี้เป็นมาตรฐานสากลที่นิยมใช้กันทั่วโลกการนำเข้าข้อมูลจากรหัสแถบของสินค้าเป็นวิธีที่รวดเร็วและความน่าเชื่อถือได้สูงและให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้งานได้ดี ทั้งนี้ เทคโนโลยี บาร์โค้ด ถูกนำมาใช้ทดแทนในส่วนการบันทึกข้อมูล (Data Entry) ด้วยคีย์บอร์ด ซึ่งมีอัตราความผิดพลาดอยู่ประมาณ 1 ใน 100 หรือบันทึกข้อมูลผิดพลาดได้ 1 ตัวอักษร ในทุก ๆ 100 ตัวอักษร แต่สำหรับระบบบาร์โค้ด อัตราการเกิดความผิดพลาดจะลดลงเหลือเพียง 1 ใน 10,000,000 ตัวอักษรเลยทีเดียว นี่จึงเป็นเหตุผลที่นิยมนำมาใช้กันแพร่หลายทั่วโลก สำหรับระบบบาร์โค้ด จะใช้ควบคู่กับเครื่องอ่าน ที่เรียกว่า เครื่องยิงบาร์โค้ด (Scanner) ซึ่งเป็นเป็นตัวอ่านข้อมูล ที่อยู่ในรูปรหัสแท่ง เป็นข้อมูลตัวเลข หรือตัวอักษร ทำให้มนุษย์สามารถเข้าใจ เพื่อนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้งาน Symbol LS-2208 ประเภทของ บาร์โค้ด 1.โค้ดภายใน(Internal Code)เป็นบาร์โค้ดที่ทำขึ้นใช้เองในองค์กรต่าง ๆ ไม่สามารถนำออกไปใช้ภายนอกได้ 2.โค้ดมาตรฐานสากล(Standard Code)เป็นบาร์โค้ดที่เป็นที่รู้จัก และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก มี 2 ระบบ คือ 2.1 ระบบ EAN (European Article Numbering) เริ่มใช้เมื่อปี พ.ศ. 2519 มีประเทศต่าง ๆ ใช้มากกว่า 90 ประเทศทั่วโลก ในภาคพื้นยุโรป เอเชีย และแปซิฟิก, ออสเตรเลีย, ลาติน อเมริกา รวมทั้งประเทศไทย ทั้งนี้ EAN มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงบรัสเซล ประเทศเบลเยี่ยม 2.2 ระบบ UPC (Universal Product Code) เริ่มใช้เมื่อปี พ.ศ. 2515 ซึ่งกำหนดมาตรฐานโดย Uniform Code Council.Inc ใช้แพร่หลายในประเทศสหรัฐอเมริกา และ แคนาดา สำหรับบาร์โค้ดในประเทศไทยเริ่มนำมาใช้อย่างจริงจัง โดยมีสถาบันสัญลักษณ์รหัสแท่งไทย (Thai Article Numbering Council) หรือ TANC เป็นองค์กรตัวแทน EAN ภายใต้การดูแลของสภาอุตสาหกรรมกรรมแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ระบบ EAN ที่ประเทศไทยใช้นั้นจะมีลักษณะเป็นเลขชุด 13 หลัก ซึ่งมีความหมายดังนี้ 885 : ตัวเลข 3 หลักแรก คือรหัสของประเทศไทย xxxx : ตัวเลข 4 ตัวถัดมา เป็นรหัสโรงงานที่ผลิต หรือรหัสสมาชิก xxxxx : 5 ตัวถัดมา เป็นรหัสสินค้า x : ตัวเลขหลักสุดท้ายเป็นตัวเลขตรวจสอบ เลข 12 ข้างหน้าว่ากำหนดถูกต้องหรือไม่ ถ้าตัวสุดท้ายผิด บาร์โค้ดตัวนั้นจะอ่านไม่ออก สื่อความหมายไม่ได้ บางท่านมีข้อสงสัยว่า จะใช้เครื่องยิงบาร์โค๊ด ต้องมี Hardware ชนิดพิเศษ หรือ ไม่ ตอบได้เลยนะครับว่า ไม่ต้องมี เพราะ ตัวอ่านจะทำหน้าที่ อ่าน รหัสบาร์โค๊ด แล้วทำการ แปลงเป็นตัวอักษร โดยปัจจุบันตัวอ่าน บาร์โค๊ด มีที่เชื่อมต่อกับ คอมพิวเตอร์ 2 ทางคือ เชื่อมกับ Keyboard และ USB Port การทดสอบสามารถทำได้ง่ายๆ ครับ คือ เปิด Notepad แล้วยิงบาร์โค๊ดดู Notepad ก็จะแสดงตัวอักษร ออกมาครับ อีกอย่างหนึ่งที่ได้ทำการทดสอบก็คือ รหัสที่ใช้ทำบาร์โค๊ด จะใช้ภาษาไทยไม่ได้ครับ ต้องใช้แต่ภาษาอังกฤษ หรือ ตัวเลขเท่านั้น คราวนี้เรามาลองทดสอบเจ้า บาร์โค๊ด Symbol LS-2208 Barcode กัน
  คุณสมบัติ ของ Symbol LS-2208 Barcode 1.เครื่องอ่านบาร์โค้ดอ่านได้ทั้งระยะใกล้และไกล เหมาะสำหรับงานที่ต้องการความเร็ว 2.เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบมือถือ เลเซอร์ 1 เส้น เหมาะสำหรับ งานทั่วไป Supermarket, Minimart และ ห้องสมุด 3.ความเร็วในการอ่าน 100 เส้น/วินาที (scan/sec.) จึงอ่านได้ดีมาก และเร็วมาก แม้คุณภาพของบาร์โค้ดจะซีดจางก็ตาม 4.ระยะการอ่าน 0-8 นิ้ว หรือ 20 ซม. (Working distance) 5.พอร์ท PS/2 ,USB  
สายพ่วงกับคอมพิวเตอร์มีให้ทั้งแบบ USB และ PS/2 เชื่อมกับ Keyboard   วิธีการเสียบสายเข้ากับตัวอ่านบาร์โค้ด บทสรุป สำหรับ Barcode Symbol LS-2208 ที่เรานำมา Review จะหัวอ่านเป็นแบบ Laser ระยะที่ทำการยิงจะได้ไกลสุดประมาณ 15 cm และ มีปัญหาบ้าง กรณีที่ บาร์โค๊ดมีขนาดเล็ก และ อยู่ในรูปโค้งมากๆ เช่นพิมพ์บน ขวด หรือ แก้วน้ำ อาจจะอ่านได้ลำบากเล็กน้อย ครับ แต่โดยรวมแล้ว ก็ใช้ได้ดีทีเดียวครับ สำหรับความเร็วในการอ่าน
 
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร รีวิวเครื่องอ่านบาร์โค้ด

รู้จักบาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

รู้จักบาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร  

เราแทบทุกคนรู้จักบาร์โค้ด แต่จะมีสักกี่คนที่รู้จักบาร์โค้ดทุกประเภทเป็นอย่างดี วันนี้จะนำความรู้เกี่ยวกับพวกบาร์โค้ดต่างๆมาแชร์ให้รับรู้กันค่ะ

บาร์โค้ด เป็นสัญลักษณ์แบบรหัสแท่งที่ใช้แทนข้อมูลตัวเลข ซึ่งจะมีลักษณะเป็นแถบมีความหนาบางต่างกัน ความหนาบางต่างๆของแถบจะขึ้นอยู่กับตัวเลขที่กำกับอยู่ด้านล่าง การอ่านข้อมูลของบาร์โค้ดจะอาศัยหลักการสะท้อนแสง เพื่ออ่านข้อมูลและนำข้อมูลที่ได้ไปเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ โดยไม่ต้องใช้การพิมพ์ข้อมูลเข้า ระบบบาร์โค้ดเป็นระบบมาตรฐานสากลที่นิยมใช้กันทั่วโลก เนื่องจากการใช้ระบบบาร์โค้ดในการนำเข้าข้อมูลเป็นวิธีที่รวดเร็วและความน่าเชื่อถือของข้อมูลมีสูง เพิ่มความสะดวกสบายต่อผู้ใช้งานได้เป็นอย่างดี บาร์โค้ดทั้งหมดที่มีในปัจจุบัน มีทั้งหมด 6 แบบ ลักษณะเป็นแบบไหน และใช้กับอะไรบ้าง จะพูดให้ฟังเป็นรายละเอียดดังต่อไปนี้ค่ะ

UPC-A (Universal Product Code) ใช้กันมากในธุรกิจค้าปลีกของประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนนาดา รหัสที่ใช้เป็นแบบ 12 หลัก หลักที่ 1 เป็นหลักที่ระบุประเภทสินค้า และตัวที่ 12 เป็นหลักที่ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของบาร์โค้ด

Interleaved 2 of 5 เป็นรหัสบาร์โค้ดที่ใช้ในระบบรับ-ส่งสินค้า รหัสบาร์โค้ดประเภทนี้เหมาะสำหรับการพิมพ์บนกระดาษลูกฟูก มักใช้ในโกดังจัดเก็บสินค้า และอุตสาหกรรมต่างๆ
 
โค้ด 128 (Code 128) เนื่องจากโค้ด 39 เก็บข้อมูลได้ค่อนข้างจำกัด ดังนั้นจังมีการพัฒนาโค้ด 128 ขึ้นมาใช้งาน เหมาะสำหรับสินค้าที่มีพื้นที่สำกัด เพราะยาร์โค้ดแบบ 128 จะกะทัดรัดและดูแน่นกว่าโค้ด โดยทั่วไปโค้ด 128 นิยมใช้ในอุตสาหกรรม การจัดส่งสินค้าที่มีทีปัญหาด้านการพิมพ์ฉลาก
Data Matrix บาร์โค้ด 2 มิติ ลักษณะบาร์โค้ดมีทั้งรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสและสี่เหลี่ยมผืนผ้า สามารถบรรจุข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก สามารถบรรจุได้ถึง 3,116 ตัวเลข หรือ 2,355 ตัวอักษร ส่วนใหญ่ใช้ในงานที่มีพื้นที่จำกัดและต้องการบาร์โค้ดขนาดเล็ก
EAN-13 ข้อมูลตัวเลขในบาร์โค้ด EAN-8 จะบ่งชี้ถึงผู้ผลิตและผลิตภัณฑ์ และเมื่อมีการใช้ EAN-8 มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในหลายประเทศ จำนวนของตัวเลขที่นำมาใช้ซึ่งมีจำนวนจำกัดทำให้มีจำนวนไม่พอต่อการใช้ ผู้ใช้จึงหันมาใช้ EAN-13 แทน บาร์โค้ดประเภทนี้เหมาะสำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดเล็ก
QR Code จะเป็นบาร์โค้ดที่จัดเก็บข้อมูลไว้เป็นตัวอักษร ในปัจจุบัน QR Code จึงถูกนำมาประยุกต์ใช้ในหลากหลายรูปแบบ เช่น เก็บข้อมูล URL ขอเว็บไซต์, ข้อความ, เบอร์โทรศัพท์ และอีกมากมายที่นำมาประยุกต์ใช้ เนื่องจาก QR Code มีประโยนช์มากสำหรับงานหรือการใช้ชีวิตในปัจจุบัน ทำให้เป็นเรื่องที่ง่ายขึ้น เนื่องจากสามารถสแกนผ่านโทรศัท์มือถือได้ เราจึงพบเห็น QR Code ในผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น นามบัตร, ปกหลังหนังสือ ฯลฯ QR Code จึงมีบทบาทสำคัญอย่างมากในปัจจุบัน
ไม่ว่าจะเป็นบาร์โค้ดแบบไหน ก็เป็นเครื่องเมือช่วยอำนวยความสะดวกต่างๆในปัจจุบันทั้งสิ้น ยิ่งเป็น QR Code ด้วยแล้ว คนทำธุรกิจจะสามารถทำกำไรได้อย่างมากเพราะมีเจ้าตัว QR Code มาช่วยในการทำให้ลูกค้าหรือผู้ชมสินค้าสามารถจดจำสินค้าได้เป็นอย่างดี รู้อย่างนี้แล้วลองนำพวกบาร์ดโค้ดต่างๆไปประยุกต์ใช้กันนะคะ
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร รู้จักบาร์โค้ด

สติ๊กเกอร์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

สติ๊กเกอร์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร  

สติ๊กเกอร์บาร์โค๊ด (Barcode Sticker หรือ Label)

สติ๊กเกอร์บาร์โค๊ด (Barcode Sticker หรือ Label) สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท 1. Direct Thermal เป็นวัสดุที่ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการพิมพ์ 2. Thermal Transfer เป็นวัสดุที่ต้องใช้ตัวกลาง (Ribbon)ในการพิมพ์ เทคโนโลยีทั้งสองแบบจะใช้หัวพิมพ์ชนิด Flat-Head ซึ่งจะมีแหล่งกำเนิดความร้อนบริเวณปลายของหัวพิมพ์ และโดยทั่วไปหัวพิมพ์จะมีความละเอียดที่ 200 dpi และ 300 dpi 1. Direct Thermal เป็นวัสดุที่ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการพิมพ์ เทคโนโลยีการพิมพ์ลงบนกระดาษความร้อน โดยใช้หัวพิมพ์ซึ่งมีตัวกำเนิดความร้อนทำหนาที่ถ่ายเทความร้อนมาที่กระดาษทำ ให้เกิดปฎิกิริยาทางเคมี และทำให้สีที่กระดาษเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งสีที่เปลี่ยนนั้นจะขึ้นอยู่กับชนิดของกระดาษด้วย โดยปกติการพิมพ์แบบนี้จะใช้สำหรับชิ้นงานที่มีอายุการใช้งานสั้นฯ เพราะกระดาษความร้อนจะมีผลเกี่ยวกับเรื่องของแสง UV และความร้อน ประเภทสินค้าบริโภค เช่น ผัก, ผลไม้
Sticker Direct Thermal เป็นวัสดุที่ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการพิมพ์
2. Thermal Transfer เป็นวัสดุที่ต้องใช้ตัวกลาง (Ribbon) ในการพิมพ์ เทคโนโลยีการส่งผ่านความร้อนไปยังแผ่นฟิล์ม หมึก(Ribbon) และหมึกก็จะถ่ายทอดไปสู่พื้ผิวหรือกระดาษอีกทีหนึ่ง แผ่นฟิล์มริบบ้อน ที่ใช้นี้จะเป็นแผ่นบางฯ ซึ่งประกอบด้วย wax หรือ wax/resin จะทำหน้าที่เป็นหมึกเมื่อโดนความร้อนก็จะเปลี่ยนเป็นของเหลวและจะมาติดกับ ชิ้นงาน ไม่เหมือนกับ Direct transfer และจะไม่เกิดปฎิกิริยาทางเคมีเหมือนกระดาษความร้อน การพิมพ์โดยใช้ Thermal transfer ใช้กับประเภทสินค้า เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า, ทรัพย์สิน, อุตสาหกรรมรถยนต์ เป็นต้น แต่จะมีค่าใช้จ่ายด้าน Ribbon
Thermal Transfer เป็นวัสดุที่ต้องใช้ตัวกลาง (Ribbon) ในการพิมพ
ชนิดของ สติ๊กเกอร์บาร์โค๊ด (Barcode Sticker หรือ Label) แบบ Thermal Transfer - POLY LASER - งานที่มีความร้อน - WHITE POLY - งานด้านอิเล็คทรอนิกส์, ทรัพย์สิน - BOPP - งานที่มีความเย็น - UPO - งานห้องเย็น - PP WHITE - งาน JEWELRY - LAMINATE - งานเครื่องสำอางค์ - VOID - งานรับประกันสินค้า -TAG - งานโรงหนัง, เสื้อผ้า - FOIL - งานทรัพย์สิน, อุตสาหรรมเครื่องยนต์
ข้อแตกต่างในการเลือกใช้งานสติ๊กเกอร์บาร์โค๊ด Direct Thermal กับ Thermal Transfer - Direct Thermal - จะใช้ในงานที่มีการเคลื่อนไหวของสินค้าเร็ว ประเภทสินค้าบริโภค เช่น ผัก, ผลไม้ - Thermal Transfer - จะใช้กับงานที่ต้องการความคงทนและมีอายุการใช้งานนาน เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า, ทรัพย์สิน, อุตสาหกรรมรถยนต์ เป็นต้น แต่จะมีค่าใช้จ่ายด้าน Ribbon

 
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร สติ๊กเกอร์บาร์โค้ด

Barcode System เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

Barcode System เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร  

ระบบบาร์โค้ด (Barcode System)

บาร์โค้ด( Bar code)เป็นระบบ ที่มีองค์ประกอบหลายอย่าง เกี่ยวข้องกัน โดยหลัก จะต้องมีโปรแกรมที่สร้างรหัสแท่ง บาร์โค้ด ประเภทต่างๆเสียก่อน เช่น EAN13 ,3 of 9 เป็นต้น รวมทั้งรายละเอียดต่างๆ(Format Label) หลังจากที่สร้างเสร็จ ผู้ใช้ก็จะต้องทราบก่อนว่า จะนำรหัสแท่งบาร์โค้ด ที่เราสร้างไปใช้ประโยชน์อะไร ยกตัวอย่าง ผู้ใช้นำไปติดตัวสินค้าคือฉลาก ส.ค.บ สิ่งที่ต้องใช้ตามมาก็คือ เลเบล หรือ ฉลาก ที่เป็นสติกเกอร์แบบม้วน และเครื่องพิมพ์ ...Barcode Printer Label

บาร์โค้ด คืออะไร ? (What is the bar code?)

บาร์โค้ด คือ สัญญลักษณ์รหัสแท่งที่ใช้แทนตัวอักษร( Characters) ตัวเลข(Numberic) มีลักษณะเป็นแถบมีความหนาบางแตก ต่างกันขึ้นอยู่กับตัวอักษร( Characters) ตัวเลข(Numberic)ว่ามีค่าอะไร ที่กำกับอยู่ข้างล่าง การอ่านข้อมูลจะอาศัยหลักการสะท้อนแสง โดยผ่านการแปรค่าต่างๆ ด้วยเครื่องอ่าน รหัสแท่ง(Scanner Barcode)เพื่ออ่านค่า เข้ามาแสดงผลรหัสแท่ง(Barcode)บนเครื่องคอมพิิวเตอร์ โดยไม่ต้องผ่านการกดปุ่มที่แป้น พิมพ์ การนำเข้าข้อมูลจากรหัสแทงของสินค้าเป็นวิธีที่รวดเร็วและมีความน่าเชื่อถือสูง ส่วนประกอบ รหัสแ่ท่ง(Barcode) ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนแถบซึ่งเป็นแทบสีขาว (โปร่งใส) และแถบสีดำ มีขนาดความกว้างของแถบตามมาตรฐานแต่ละชนิดของบาร์โค้ด รหัสตัวอักษร(Characters)เป็นส่วนที่แสดงความหมายของรหัสแถบสำหรับให้อ่าน เข้าใจได้ และส่วนสุดท้ายแถบว่าง (Quiet Zone) เป็นส่วนที่เครื่องอ่านบาร์โค้ดใช้กำหนด ขอบเขตของบาร์โค้ดและกำหนดค่าให้กับ แถบสีขาว (ความเข้มของการสะท้อนแสงในสีของพื้นผิวแต่ละชนิดที่ใช้แทนสีขาว) แต่ละแถบจะนเรียงตามลำดับในแนวนอนจากซ้ายไปขวา ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อเครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) ในการอ่านรหัสที่บันทึกไว้ ประโยชน์ของรหัสแ่ท่ง(ฺิBenefits of Bar Code)
  • การตรวจสอบสินค้าขณะขาย
  • การตรวจสอบยอดการขาย และสินค้าคงคลัง
  • การตรวจนับสินค้า สำหรับจัดส่ง คงคลัง สต๊อก

เราสามารถที่จะอ่านรหัสบาร์โค้ดได้ โดยใช้สแกนเนอร์หรือเครื่องอ่านบาร์โค้ด ซึ่งวิธีนี้จะรวดเร็วกว่าการป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์หรือการอ่าน ด้วยสายตา บางครั้งเราจะเห็นเครื่องเหล่านี้ในสถานที่ต่างๆ ซึ่งบางที่เราก็อาจจะคาดไม่ถึง ว่าจะนำไปใช้ได้

 
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร Barcode System

Barcode Scanner เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

Barcode Scanner เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร  

Barcode Scanner หรือ เครื่องอ่านบาร์โค๊ด คือ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านข้อมูลที่อยู่ในแท่งบาร์โค้ด แล้วแปลงให้เป็นข้อมูลที่สามารถเข้าใจได้โดยคอมพิวเตอร์

หน้าที่ของเครื่องอ่านบาร์โค้ด

1. หา Elements ที่ถูกต้องของ Bar และ Space 2. กำหนดส่วนกว้างของแต่ละ Bar และ Space 3. จัดกลุ่มของบาร์โค้ดที่อ่านเข้ามา 4. นำ Element Widths เปรียบเทียบกับรูปแบบตารางบาร์โค้ด 5. ตรวจสอบ Start/Stop Characters เวลาที่มีการอ่านกลับทิศทาง 6. ยืนยัน Quiet Zone ทั้งสองข้างของบาร์โค้ด 7. ยืนยันความถูกต้องของ Check Characters

 

 

หลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค๊ด

1. เครื่องอ่าน (Reader) ฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค๊ด 2. รับแสงที่สะท้อนกลับมาจากตัวบาร์โค๊ด 3. เปลี่ยนปริมาณแสงที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า 4. เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นข้อมูลที่นำไปใช้งานได

 

 

1. เครื่องอ่าน (Reader) ฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด หรือ แหล่งกำเนิดแสง (Light Source) ภายในเครื่องอ่านบาร์โค้ดจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด และกวาดแสงอ่านผ่านแท่งบาร์

 

 

2. รับแสงที่สะท้อนกลับมาจากตัวบาร์โค๊ด ฉายการอ่านบาร์โค้ดจะใช้หลักการสะท้อนแสงกลับมาที่ตัวรับแสง

 

 

3. เปลี่ยนปริมาณแสงที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า ภายในเครื่องอ่านบาร์โค้ดจะมีอุปกรณ์เปลี่ยนปริมาณแสง ที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า

 

 

4. เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นข้อมูลที่นำไปใช้งานได้ สัญญาณไฟฟ้าจะไปเปรียบเทียบกับตารางบาร์โค้ดที่ ตัวถอดรหัส (Decoder) และเปลี่ยนให้เป็นข้อมูลที่สามารถนำไปใช้งานได้

 

 

สรุปหลักการทำงานของเครื่องอ่านบาร์โค้ด

เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด แล้วรับแสงที่สะท้อนกลับจากแท่งบาร์โค้ด ซึ่ง Space จะสะท้อนแสงได้ดีกว่าแท่งBar จากนั้นปริมาณแสงสะท้อนจะถูกเปลี่ยนไปเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า แล้วถูกส่งต่อไปยังตัวถอดรหัส (Decoder) และแปลงให้เป็นข้อมูลที่สามารถนำไปใช้งานได้

 

ประเภทของเครื่องอ่านบาร์โค้ด

เครื่องอ่านบาร์โค้ด จำแนกออกได้ 2 กลุ่มใหญ่ คือ เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบสัมผัส และ เครื่องอ่านบาร์โค้ด ไม่สัมผัส และยังสามารถแยกประเภทตามลักษณะการเคลื่อนย้ายได้ โดยแบ่งกลุ่มเป็นเครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable) และ เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบยึดติดกับที่(Fixed Positioning Scanners)

เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable) เครื่องอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ ส่วนมากจะมีหน่วยความจำในตัวเอง เพื่อเก็บข้อมูลที่อ่านหรือบันทึกด้วยปุ่มกดสามารถนำอุปกรณ์ไปใช้ได้ง่ายโดยสามารถพกพาได้ การอ่านรหัสแต่ละครั้งจะนำเอาเครื่องอ่านเข้าไปยังตำแหน่งที่สินค้าอยู่ ส่วนมากเครื่องอ่านลักษณะนี้จะมีน้ำหนักเบา ส่วนแบบที่ไม่มีหน่วยความจำในตัวเองจะทำงานแบบไร้สายเหมือนโทรศัพท์ไร้สายที่ใช้ภายในบ้านซึ่งมีข้อจำกัดเรื่องระยะทาง

เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบยึดติดกับที่ (Fixed Positioning Scanners) เครื่องอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ส่วนมากจะติดตั้งกับด้านข้าง หรือตำแหน่งใดๆ ที่เหมาะสมในแนวทางวิ่งของสายพานลำเลียง เพื่ออ่านรหัสที่ติดกับบรรจุภัณฑ์และเคลื่อนที่ผ่านไปตามระบบสายพานลำเลียง บางครั้งเครื่องอ่านประเภทนี้จะติดตั้งภายในอุปกรณ์ของระบบสายพานลำเลียงเพื่อให้สามารถอ่านได้โดยอัตโนมัติ อีกรูปแบบที่เราเห็นกันมาก จะฝังอยู่ที่โต๊ะแคชเชียร์ ตามห้างสรรพสินค้า โดยแคชเชียร์จะนำสินค้าด้านที่มีบาร์โค้ดมาจ่อหนาเครื่องอ่านที่ถูกฝังไว้กับโต๊ะ หรือตั้งไว้ด้านข้าง เครื่องอ่านจะทำการอ่านบาร์โค้ดโดยอัตโนมัติ เมื่อมีวัตถุเคลื่อนไหวอยู่ข้างหน้าตัวเครื่อง

เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบสัมผัส (Contact Scanners) เครื่องอ่านบาร์โค้ดประเภทนี้ เป็นอุปกรณ์ที่เวลาอ่าน ต้องสัมผัสกับผิวหน้าของรหัสแท่ง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ

  • เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบปากกา (Pen Scanner) หรือแวนด์ (Wand) เป็นเครื่องอ่านบาร์โค้ด ที่มีลักษณะเหมือนหัวปากกา โดยมีปลายปากกาเป็นอุปกรณ์สำหรับผลิตลำแสงเพื่ออ่านข้อมูล น้ำหนักเบา พกพาสะดวก มีข้อจำกัดเรื่องคุณภาพฉลากต้องดีมาก เพราะหัวอ่านที่สัมผัสบนรหัสแท่งอาจจะทำให้รหัสลบหรือเสียหายได้ เหมาะสำหรับอ่านบาร์โค้ดบนเอกสารหรือคูปอง

  • เครื่องอ่านบัตร (Slot Scanner)เป็น เครื่องอ่านบาร์โค้ด ที่ใช้อ่านรหัสแท่งจากบัตรหรือวัสดุอื่น โดยต้องรูดบัตรที่มีบาร์โค้ดนั้นลงในช่องเพื่ออ่านข้อมูล เหมาะสำหรับรูดบัตรที่มีบาร์โค้ด อ่านรหัสบาร์โค้ดจากบัตรประจำตัว เพื่อบันทึกเวลาหรือดูข้อมูลต่างๆ ด้วยตัวเจ้าของบัตรเอง

เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบไม่สัมผัส (Non Contact Scanner) เป็น เครื่องอ่านบาร์โค้ด ที่มีหลายรูปแบบจากแบบง่ายๆ ที่ลักษณะคล้ายปีนที่เห็นตามร้านค้าปลีก จนถึงระบบแบบ Pocket PC สามารถอ่านโดยห่างจากรหัสแท่งได้ ทำให้ทำงานได้รวดเร็ว ง่ายและสะดวก โดยแบ่งเป็นหลายชนิดดังนี้

  • เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบ CCD (Charge Coupled Device Scanner) เครื่องอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ เป็นเครื่องอ่านราคาถูก การทำงานจะอาศัยการสะท้อนของแสงจากรหัสแท่งและช่องว่างแล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณวีดีโอ เครื่องอ่านแบบนี้ในขณะอ่านจะไม่มีการเคลื่อนที่ชิ้นส่วน ความแม่นยำจะสูงกว่าแบบเลเซอร์ ใช้พลังงานน้อย อายุการใช้งานของอุปกรณ์ในการสร้างลำแสง (LED) จะยาวนานกว่าเครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบนี้ยังเป็นแบบตัดวงจรไฟอัตโนมัติในกรณีที่ไม่มีการใช้งาน

  • เครื่องอ่านบาร์โคดแบบ Linear Imaging เครื่องอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ เป็นเครื่องอ่านบาร์โค้ด ที่ใช้หลักการอ่านโดยวิธีจับภาพโดยเลนซ์รับภาพเช่นเดียวกับกล้องถ่ายรูป ทำให้ระบบหัวอ่านมีความสามารถในการอ่านในเชิงเรขาคณิตสูงกว่าเครื่องอ่านแบบ CCD สามารถอ่านบาร์โค้ดขนาดเล็กมากๆได้ เนื่องจากใช้การอ่านด้วยตัวเลนซ์รับภาพทำให้จับภาพได้ระยะไกลขึ้น อ่านได้เร็วถึง 100-450 scan ต่อวินาที ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบ Linear Imaging มีความสามารถในการอ่านและความเร็วในการอ่านเหนือว่าการอ่านแบบ CCD แต่มีความทนทานเหมือนกัน และอ่านในระยะไกลได้เทียบเท่ามาตรฐานของเครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบเลเซอร์

  • เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบเลเซอร์ ( Laser Scanner) เครื่องอ่านบาร์โค้ด ชนิดนี้มีวิธีการทำงาน คือเมื่อกดปุ่มอ่านรหัสจะเกิดลำแสงเลเซอร์ซึ่งมีกระจกเงาเคลื่อนที่มารับแสงแล้วสะท้อนไปตกกระทบกับรหัส และผ่านเป็นแนวเส้นตรงเพียงครั้งเดียว ลำแสงที่ยิงออกมาจะมีขนาดเล็กด้วยความถี่เดียว ไม่กระจายออกไปนอกเขตที่ต้องการทำให้สามารถอ่านรหัสที่มีขนาดเล็กได้ดี

สามารถแบ่งเครื่องอ่านเลเซอร์ตามประเภทของการอ่านได้ดังนี้

  • เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบเลเซอร์ชนิดเส้นเดี่ยว ( Single Line laser Scanner)
  • เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบเลเซอร์ชนิดหลายเส้น ( Multiple Line Laser Scanner)

เครื่องอ่านบาร์โค้ด แบบเลเซอร์ชนิดอ่านหลายเส้น (Raster) เหมาะสำหรับการอ่านบาร์โค้ดแบบติดตั้งอยู่กับที่โดยอ่านบาร์โค้ดที่กล่องซึ่งมีตำแหน่งบาร์โค้ดไม่ได้อยู่ในตำแหน่งเดียวกัน โดยทั่วไปเครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบนี้จะมี เส้นเลเซอร์ตั้งแต่ 2-10 เส้น เป็นแสงเลเซอร์ในแนวขนานกัน

เครื่องอ่านบาร์โค้ดแบบเลเซอร์ชนิดอ่านหลายเส้นหลายทิศทาง(Omni-Direction) เป็นแสงเลเซอร์ มากกว่า 10 เส้นอยู่ในแนวขนานและตัดกันไปมาเหมือนตาข่ายทำให้สามารถอ่านบาร์โค้ดได้หลายทิศทาง

 

 
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร Barcode Scanner

บาร์โค้ด 1D และ 2D เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

บาร์โค้ด 1D และ 2D เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร  

ความรู้ : บาร์โค้ด 1D และ 2D ,ข้อดีของ 2D BARCODE

  บาร์โค้ด 1 มิติ (1 Dimension Barcode) บาร์โค้ด 1 มิติมีลักษณะเป็นแถบประกอบด้วยเส้นสีดำสลับกับเส้นสีขาว ใช้แทนรหัสตัวเลขหรือตัวอักษรโดยสามารถบรรจุข้อมูลได้ประมาณ 20 ตัวอักษร การใช้งานบาร์โค้ดมักใช้ร่วมกับฐานข้อมูลคือเมื่ออ่านบาร์โค้ดและถอดรหัสแล้วจึงนำรหัสที่ได้ใช้เรียกข้อมูลจากฐานข้อมูลอีกต่อหนึ่ง บาร์โค้ด 1 มิติมีหลายชนิด เช่น UPC EAN-13 หรือ ISBN ดังรูปที่ 1 เป็นต้น ซึ่งบาร์โค้ด 1 มิติเหล่านี้สามารถพบได้ตามสินค้าทั่วไปในซูเปอร์มาร์เก็ตหรือห้างสรรพสินค้า   บาร์โค้ด 2 มิติ (2 Dimension Barcode) บาร์โค้ด 2 มิติเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาเพิ่มเติมจากบาร์โค้ด 1 มิติ โดยออกแบบให้บรรจุได้ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน [1] ทำให้สามารถบรรจุข้อมูลมากได้ประมาณ 4,000 ตัวอักษรหรือประมาณ 200 เท่าของบาร์โค้ด 1 มิติในพื้นที่เท่ากันหรือเล็กกว่า ข้อมูลที่บรรจุสามารถใช้ภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษได้ เช่น ภาษาญี่ปุ่น จีน หรือเกาหลี เป็นต้นและบาร์โค้ด 2 มิติสามารถถอดรหัสได้แม้ภาพบาร์โค้ดบางส่วนมีการเสียหาย อุปกรณ์ที่ใช้อ่านและถอดรหัสบาร์โค้ด 2 มิติมีตั้งแต่เครื่องอ่านแบบซีซีดีหรือเครื่องอ่านแบบเลเซอร์เหมือนกับของบาร์โค้ด 1 มิติจนถึงโทรศัพท์มือถือแบบมีกล้องถ่ายรูปในตัวซึ่งติดตั้งโปรแกรมถอดรหัสไว้ ในส่วนลักษณะของบาร์โค้ด 2 มิติมีอยู่อย่างมากมายตามชนิดของบาร์โค้ด เช่น วงกลม สี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือสี่เหลี่ยมผืนผ้าคล้ายกับบาร์โค้ด 2 มิติ ดังรูปที่ 2 เป็นต้น ตัวอย่างบาร์โค้ด 2 มิติ ได้แก่ PD417, MaxiCode, Data Matrix, และ QR Code บาร์โค้ด 2 มิติ (2D) ดีกว่า บาร์โค้ด 1 มิติ (1D) อย่างไร เป็นที่ทราบว่า บาร์โค้ดแบบ 1D เป็นการอ่านบาร์โค้ดตามแนวยาว คือ อ่านจากระยะห่างและความหนาของแท่ง ซึ่งความยาวของบาร์โค้ด ก็จะแปรผันตามจำนวนข้อมูล ยิ่งมาก็ยิ่งยาว เช่น ตัวเลข50ตัวอาจจะ ต้องใช้ความยาวมากกว่า20ซม. และเมื่อยิ่งยาวโอกาสอ่านผิดพลาด ก็มีสูงเนื่องจากเครื่องอ่านรับข้อมูลได้ไม่หมด เปรียบเทียบขนาดความยาวของ บาร์โค้ด 1D (ซ้าย) และ บาร์โค้ด 2D (ขวา) ดังนั้นเมื่อพัฒนาการของเครื่องอ่านบาร์โค้ดสูงขึ้น จึงมีความสามารถสแกน ในลักษณะ Image หรือรูปถ่ายเหมือนกล้องดิจิตอล แล้วมาประมวลผลเพื่ออ่านค่า บาร์โค้ดแบบ 2D จึงเกิดขึ้นโดยเพิ่มแกนด้านสูงขึ้นมาทำให้รับข้อมูลได้มากขึ้น ข้อมูลที่มากขึ้นนี้ เป็นจุดเด่นของบาร์โค้ดแบบ 2D ที่จะนำไปประยุกต์ ที่การใช้งาน สูงขึ้นได้ ข้อดี ในการประยุกต์ใช้งาน 1. ให้ข้อมูลที่มากขึ้นแก่ผู้บริโภค เช่น - ระบุวันผลิต วันหมดอายุ - ระบุแหล่งผลิต,ที่อยู่,เบอร์ติดต่อ,อีเมล์,เว็บไซต์ - หมายเลข Lot 2. ให้ข้อมูลที่มากขึ้น หากใช้ในองค์กร เช่น - ระบุหมายเลขใบสั่งซื้อ,Supplier - ระบุตำแหน่ง,ผู้รับผิดชอบ,เจ้าของ - ระบุหมายเลข LOT,ใบสั่งผลิต,สถานะวัสดุ จะเห็นว่า สามารถเพิ่มรายละเอียดเพื่อแสดงตัวตนของวัตถุได้ชัดเจนขึ้น สอบกลับข้อมูลได้ รู้ที่มาที่ไป เป็นประโยชน์ต่อการจัดการ ป้องกันความผิดพลาด ลดความสับสน กรณีในองค์กรมีสิ่งที่ทับซ้อนกัน ข้อดี ในเครื่องอ่าน 2D Barcode Reader เครื่องอ่านแบบ 2D ในปัจจุบันถือว่า มีความแม่นยำสูง เพราะเป็นการถ่ายรูปป้าย ทั้งหมดแล้วมาวิเคราะห์ อ่านได้ทั้ง 1D และ 2D ทำให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ และสแกนได้ทุกทิศทาง และเท่าทดสอบ พบว่า เครื่องอ่านแบบ2D เมื่อนำไปอ่านแบบ1D เทียบกับเครื่องอ่านLaser พบว่า เครื่องอ่านแบบ2D ทำได้ดีกว่า มีสำเร็จมากกว่า สามารถสแกนป้ายที่สแกนยากได้ดีกว่า

 
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บาร์โค้ด 1D และ 2D

มาตรฐานบาร์โค้ดประเภทต่างๆ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

มาตรฐานบาร์โค้ดประเภทต่างๆ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร  

ความรู้ : มาตรฐาน บาร์โค้ดประเภทต่างๆ

บาร์โค้ดมีหลากหลายมาตรฐานในการจัดทำ สิ่งที่เหมือนกัน คือ รูปร่างเป็นแท่งขาวสลับดำ ที่มีความห่างแตกต่างกัน แต่สิ่งที่แตกต่างคือ ขนาดของความยาว,ความสามารถในแปลตัวอักษร บางชนิดอาจจะแต่ตัวเลข บางชนิดใช้ได้ ทั้งตัวเลขและตัวอักษร การเลือกใช้มาตรฐานบาร์โค้ด เริ่มต้นจากธุรกิจ ก็ต้องดูที่คู่ค้า ที่ต้องมีการใช้โค้ดร่วมกัน มีการใช้แบบเจาะจง เราใช้ตามคู่ค้าของเราก็ยอมเป็นผลดี ต่อการใช้งานร่วมกัน แต่หากใช้เฉพาะภายในองค์กร ก็แล้วแต่ ผู้ที่รับผิดชอบจะตัดสินใจว่าจะใช้แบบใด บางมาตรฐานจะต้องมีformatตายตัว บางครั้งใช้งานไม่สะดวก บางแบบมีformatที่ยืดหยุ่นผู้ใช้สามารถเลือกพิมพ์ด้ามต้องการก็มี มาตรฐานกับงานที่นิยมใช้มีดังนี้ 1. สำหรับสินค้าปลีก,ซุปเปอร์มาร์เก็ต : UPC,EAN,ISBN-13 2. ไปรษณีย์ (อเมริกา) : POSTNET 3. สำหรับงานลอจิสติก ชิบปิ้ง สินค้าคงคลัง การกระจายสินค้า : Code128,Code39,Interleaved 2of5 (ITF) มาตรฐานบาร์โค้ด 1D 1. 2 of 5 (non-interleaved) ปัจจุบันพบน้อยมาก ยังมีการใช้อยู่บ้าง เช่น ตั๋วสายการบิน ห้องแลบภาพ 2 of 5 เป็นโค้ดที่ใช้ในการเข้ารหัสข้อมูลที่เก่าแก่ที่สุด 2 of 5 (non-interleaved) และ 2 of 5 (interleaved) หลายคนมักสับสน เพราะ 2 of 5 (interleaved) ยังมีความนิยมแพร่หลายอยู่ ซึ่งถือว่า เป็นคนละโค้ดกัน และเครื่องหรือโปรแกรมอาจจะไม่สนับสนุน ดังนั้นต้องดูให้แน่ใจว่าเป็น non-interleaved หรือ interleaved 2. bookland เป็นบาร์โค้ดรุ่นเก่าที่ใช้กับพวกหนังสือ ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วย ISBN-13 บางครั้งสองคำนี้จะใช้เรียกแทนกัน 3. Codabar เป็นบาร์โค้ด ที่ใช้ใน FED-EX,ห้องสมุด,ธนาคารเลือด 4. Code 128 จัดเป็นโค้ดที่มีความนิยมมาก มันมีความหนาแน่น กะทัดรัด การบีบข้อมูล ที่ดีกว่า Code39 Code 128 สามารถสนันสนุน ได้ 128 ASCII ตัว(ทั้งตัวเลขและอักษร) นิยมใช้ในงานชิบปิ้ง มีการแบ่งกลุ่มเป็น3แบบคือ set A : ASCII characters 00 to 95 (0-9, A-Z and control codes), special characters, and FNC 1-4 set B : ASCII characters 32 to 127 (0-9, A-Z, a-z), special characters, and FNC 1-4 set C : 00-99 (encodes each two digits with one code) and FNC1 หากต้องใช้ ตัวอักษร และ/หรือ ตัวเลข Code128 จึงที่เป็นที่เหมาะสมในการนำมาใช้งาน อีกทั้งมีความยืดหยุ่น ในการบรรจุตัวอักขระ เพราะไม่ล๊อคตายตัว สามารถพิมพ์อักษรหรือตัวเลขที่ต้องการได้เลย 5. Code 39 (Code 3 of 9) เป็นโค้ดรุ่นเก่า แต่ยังมีความนิยมในการใช้งานอยู่ ใช้กับงาน Inventory และตรวจติดตาม สามารถบรรจุได้ทั้งตัวเลขและ ตัวอักษร สามารถพิมพ์ได้หลายขนาด โดยแบบพื้นฐานจะรองรับอักษร A-Z ,0-9 6. Code 93 เป็นโค้ดที่ไม่ค่อยมีการใช้งาน ขนาดกะทัดรัด ใช้ในงานชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิค และเนื่องจาก ชื่อที่คล้ายคลึงระหว่าง Code 93 และ Code 39 ซึ่งทำให้เข้าใจผิดได้ ดังนั้นหากมีการใช้งานในโค้ดดังกล่าว จะตัดซื้ออุปกรณ์หรือซอฟแวร์ ต้องแน่ใจว่า ตรงกับที่จะใช้งาน 7. EAN EAN ย่อมาจาก European Article Number นิยมใช้กับสินค้าปลีก ใน สหรัฐ และ ญี่ปุ่น และแพร่หลายในอุตสาหกรรมค้าปลีก ทั่วโลก 8. GS1-128 (EAN-128) GS1-128 เป็นโค้ดพิเศษ ของ Code128 ที่มีการถอดรหัสกับระบบ GS1 9. Interleaved 2 of 5 (ITF) เป็นโค้ดที่เป็น ตัวเลขเท่านั้น มีขนาดเล็ก เพราะมีการเข้ารหัสทั้งในแถบและช่องว่าง ใช้ในกล่องกระดาษลูกฟูกในอุตสาหกรรม ขนส่งสินค้า 10. ISBN-13 เป็นโค้ดค้าปลีก พวกหนังสือ นิตยสาร หรือผลิตภัณฑ์อื่นที่เกี่ยวกับหนังสือ โดยมีส่วนประกอบจาก EAN13และ supplemental code 5ตัว ซึ่งจะแสดง IDของหนังสือและราคาปก 11. ISSN ใช้ในอุตสาหกรรมงานพิมพ์ วารสารอิเล็กทรอนิค 12. MSI Plessey ตัวเลขสัญลักษณ์ ที่ใช้ในห้องสมุด 13.POSTNET บาร์โค้ดที่ใช้ในการเข้ารหัสรหัสไปรษณีย์ของไปรษณีย์สหรัฐ ซึ่งมีแตกต่างจากบาร์โค้ดอื่น ๆ มีความพิเศษที่แตกต่าง คือ จะมีความสูงของแท่งไม่เท่ากันและระยะห่างระหว่างแถบเท่ากัน ซึ่งบรรจุึข้อมูลของรหัสไปรษณีย์และพื้นที่จัดส่ง 14. UPC UPC ย่อมาจาก Universal Product Code ใช้มากกับสินค้าปลีกในสหรัฐและแคนนาดา อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ 15. Supplemental barcode เป็นโค้ดที่เพิ่มเติมทางด้านขวา พบใน UPC, EAN หรือ ISBN-13 จะเป็นตัวอักขระที่เพิ่มมา2-5ตัว มาตรฐานบาร์โค้ด 2D 1. QR-Code QR (Quick Response) ประดิษฐ์คิดค้นโดย บริษัท เด็นโซ่เวฟ จัดเป็นบาร์โค้ดยอดนิยม ที่เครื่องอ่าน2Dทั่วไปทุกยี่ห้อ สามารถสแกนได้ มักจะอ่านได้ดี และโปรแกรมsmartphoneหลายตัวก็สามารถอ่านได้ เรียกว่าสามารถอ่านได้ง่าย ซึ่งเราจะเคยพบสิ่งพิมพ์ ลงในสื่อต่างๆเมื่อสแกนมาก็เป็นที่อยู่เว็บ มีความหนาแน่นสูง ทำให้บรรจุอักษรได้มาบนพื้นที่เล็กๆ ขนาดจะเป็นสี่เหลี่ยมจตุรัส ทำให้พื้นที่น้อย และไม่ต้องมีFormatในการบรรจุข้อมูล สามารถใส่ได้ตามต้องการ 2. MaxiCode ประกอบด้วย จุดเหมือนรังผึ้ง รอบๆกระจาย วงกลมตรงกลาง พบในการใช้ส่งพัสดุของสหรัฐ ต้องใส่ข้อมูลลงตาม Formatที่กำหนด 3. PDF417 คิดค้นโดย Symbol Technologies บรรจุได้ถึงประมาณ 1100ตัว มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีแถบเริ่มต้นและแถบปิดท้าย ทำให้กินพื้นที่มากขึ้นกว่าโค้ดอื่นๆ ไม่ต้องมีFormatในการบรรจุข้อมูล สามารถใส่ได้ตามต้องการ 4. Data Matrix หากดูผิวเผินจะคล้ายกับ Qr code แต่จริงๆแล้วไม่เหมือนกัน การอ่านและถอดรหัสจะทำในเส้นทแยงมุุม(QR จะอ่านตามแนวตรง) พบในผลิตภัณฑ์จากทางสหรัฐและยุโรป จุดอ่อน คือ ต้องใส่ข้อมูลลงตาม Formatที่กำหนด
 
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร มาตรฐานบาร์โค้ดประเภทต่างๆ

ทำความรู้จัก QR Code เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

ทำความรู้จัก QR Code เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร  

มารู้จัก QR Code กันเถอะ

QR Code www.it-guides.com
บางคนคงนึกสงสัยว่าสัญลักษณ์นี้คืออะไร? มีความหมายอย่างไร ? สัญลักษณ์นี้มีชื่อเรียกว่า “QR Code” ค่ะ ซึ่งเราจะพบสัญลักษณ์นี้ได้บ่อยๆ บนพวกสินค้า ป้ายโฆษณา หนังสือ หรือสื่อโฆษณาต่างๆ ของประเทศญี่ปุ่น และปัจจุบันจะเริ่มพบเห็นได้แพร่หลายมากขึ้นทั่วโลกซึ่งรวมถึงบ้านเราค่ะ QR Code ถูกนำไปใช้ประยุกต์ใช้มากมาย หนึ่งในนั้นก็คือ Social Scanning แล้ว QR Code ต่างยังไงกับ Bar Code ? หลายๆ คงรู้จักกับ Bar Code กันแล้ว เพราะทุกสินค้า และห้างร้านบ้านเรา ก็มักจะใช้ตัว Bar Code เพื่อกำกับสินค้า ว่าสินค้าตัวนั้น มีชื่อว่าอะไร ราคาเท่าไหร่ เป็นต้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์ได้อ่าน และประมวลได้อย่างรวดเร็ว แต่ข้อเสียของเจ้า Bar Code ก็คือมันจะสามารถอ่านได้เฉพาะจากเครื่องอ่าน Bar Code เท่านั้น
QR Code คืออะไร?
QR Code เป็นบาร์โค้ดสองมิติชนิดหนึ่ง ที่ประกอบด้วยมอดูลสีดำเรียงตัวกัน มีสัณฐานสี่เหลี่ยม มีพื้นหลังสีขาว ที่สามารถอ่านได้ด้วยเครื่องสแกนคิวอาร์ ในโทรศัพท์มือถือที่มีกล้อง และสมาร์ตโฟน เพื่อถอดข้อมูลในรูปข้อความ หรือโปรแกรมชี้แหล่งทรัพยากรสากล และอื่น ๆ โดยรหัสคิวอาร์นี้ สร้างสรรค์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2537 โดย เดนโซ-เวฟ บริษัทลูกของโตโยต้า โดยนับเป็นรหัสแท่งสองมิติประเภทหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันเป็นที่นิยมในประเทศญี่ปุ่น
QR Code ก็คล้ายกับ Bar Code ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้ โดย QR Code หรือเรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า two-dimensional bar code (2D bar code) มันหน้าที่ไว้เก็บข้อมูลต่างๆ ได้เหมือนกันแต่ว่าเร็วกว่า ใช้งานง่ายกว่า และมีลูกเล่นเยอะกว่า Bar Code มากครับ ชื่อของ QR Code นั้นมาจากนิยามความหมายว่า Quick Response หรือการตอบสนองที่รวดเร็ว ซึ่งมาจากความตั้งใจของผู้คิดค้น ที่จะให้ QR Code นี้สามารถถูกอ่านได้อย่างรวดเร็วนั่นเอง ซึ่ง QR Code นี้ถูกคิดค้นขึ้นในปี 1994 โดยบริษัทสัญชาติญี่ปุ่น ที่ชื่อ Denso-Wave และได้จดทะเบียนลิขสิทธิ์ชื่อ QR Code ไปแล้วทั้งในญี่ปุ่น และทั่วโลก และปัจจุบันตัวสัญลักษณ์ QR Code นี้ได้รับความนิยม จนกลายเป็นของธรรมดาในญี่ปุ่นไปแล้ว มือถือ พระเอกของ QR Code
ที่บอกว่ามือถือเป็นพระเอกของ QR Code นั้นก็หมายความว่า ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เราสามารถติดตั้งซอฟต์แวร์สำหรับอ่าน QR Code หรือ 2D Bar Code นี้ไว้ในโทรศัพท์มือถือได้ง่ายๆ และเมื่อพบ QR Code ในแมกกาซีน หรือป้ายโฆษณา Bill Board ก็สามารถเอามือถือไปสแกน แล้วรอซักพักโปรแกรมก็จะแสดงข้อมูลเป็นตัวอักษรขึ้นมา เข่น URL เว็บไซต์ หรือข้อมูลอื่นๆ ซึ่งสะดวกและรวดเร็วมากครับ
ประโยชน์ของ QR Code ด้วยการที่ข้อมูล QR Code เก็บไว้เป็นข้อมูลตัวอักษรเราจึงสามารถนำ QR Code มาประยุกต์ใช้ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น เก็บข้อมูล URL ของเว็บไซต์, ข้อความ, เบอร์โทรศัพท์ และข้อมูลที่เป็นตัวอักษรได้อีกมากมาย ปัจจุบัน QR Code ถูกนำไปใช้ในหลายๆ ด้านเนื่องจากความ “ง่าย” เพราะทุกวันนี้คนส่วนใหญ่จะมีมือถือกันทุกคนและมือถือเดี๋ยวนี้ก็มีกล้องเกือบทุกรุ่นแล้ว
ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดที่สุดของ QR Code ก็คือการเก็บ URL ของเว็บไซต์ เพราะ URL โดยปกติแล้วจะเป็นอะไรที่จดจำได้ยากเพราะยาวและบางอันจะซับซ้อนมาก ขนาดจดยังทำไม่ได้ แต่ด้วย QR Code เราเพียงแค่ยกมือถือมาสแกน QR Code ที่เราพบเห็นตามผลิตภัณต์ต่างๆ, นามบัตร, นิตยสาร ฯลฯ แล้วมือถือจะลิ้งค์เข้าเว็บเพจที่ QR Code นั้นๆ บันทึกข้อมูลอยู่โดยอัติโนมัติ และด้วยการมาของระบบ 3G ที่ค่ายมือถือต่างๆ ในบ้านเราเช่น True Move และ AIS เริ่มนำเข้ามาให้บริการแล้ว จะทำให้เราสามารถเข้าอินเตอร์เน็ตบนมือถือได้อย่างรวดเร็วและทุก ๆ ที่ที่ต้องการเลยค่ะ นอกจากนี้ QR Code ยังเริ่มนิยมอยู่บนนามบัตรแล้วด้วย โดยจะใช้ QR Code บันทึก URL ของข้อมูลส่วนต่างๆ บนเว็บไซต์ เช่น อีเมล์, Facebook, MSN หรือจะเก็บข้อมูลส่วนในรูปแบบตัวอักษร เช่น ชือ ตำแหน่ง ที่อยู่ เบอร์โทร ฯลฯ ซึ่งอาจทำให้ในอนาคตเราอาจไม่จำเป็นต้องแลกนามบัตรกันอีกต่อไป เพียงแค่เอามือถือมาสแกนที่นามบัตร ข้อมูลบนนามบัตรทุกๆ อย่างก็จะถูกจัดเก็บเข้ามือถือทันที ปรกติเราจะเห็น QR Code นี้อยู่ใน ตามนิตยสาร แม็กกาซีน ป้ายโฆษณาต่างๆ หรือที่ต่างประเทศจะมีติด QR Code ตามตึกก็มีนะคะ
qr code h1 QR Code คืออะไร ใช้อย่างไร สร้างที่ไหนน.. qrcode in magazine QR Code คืออะไร ใช้อย่างไร สร้างที่ไหนน..
เราสามารถสร้าง QR Code ได้หรือไม่? เราสามารถสร้าง QR Code ได้เอง โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเลยค่ะ โดยภาษาทางการเค้าจะเรียกกันว่า QR Code Generator ปัจจุบันจะมีอยู่ 2 โปรแกรมค่ะ อันแรกก็ไม่เรียกว่าเป็นโปรแกรมซะทีเดียวเพราะเป็น QR Code Generator อยู่บนเว็บไซต์และอีกตัวจะเป็นแบบต้องติดตั้งลงเครื่องก่อน
 
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร ทำความรู้จัก QR Code

Barcode Generator เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

Barcode Generator เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร  

QR Code หรือ 2D Barcode

QR Code QR Code (Quick Response Code) หรือ 2D Barcode (Two-dimensional barcode) คือรูปแบบหนึ่งของบาร์โค้ด ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าบาร์โค้ดปกติ โดยสามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน ในรูปแบบของตัวอักษรและตัวเลขได้ถึง 4,296 ตัวอักษร มีข้อดีคือสามารถถูกอ่านได้อย่างรวดเร็ว ใช้งานได้ง่าย และมีลูกเล่นที่มากกว่า คำว่า QR Code นั้น ได้ถูกนิยามความหมายว่าเป็น Quick Response หรือการตอบสนองที่รวดเร็ว ซึ่งมาจากความตั้งใจของผู้คิดค้นที่จะให้ QR Code นี้สามารถถูกอ่านได้อย่างรวดเร็วนั่นเอง QR Code นี้ถูกคิดค้นขึ้นในปีค.ศ.1994 โดยบริษัท Denso-Wave ประเทศญี่ปุ่น และได้จดทะเบียนลิขสิทธิ์ชื่อ QR Code ไปแล้วทั้งในประเทศญี่ปุ่นและทั่วโลก ปัจจุบันตัวสัญลักษณ์ QR Code นี้ได้รับความนิยม จนกลายเป็นของธรรมดาในประเทศญี่ปุ่นไปแล้ว Man look at QR Code Poster การที่ข้อมูล QR Code เก็บไว้ในรูปแบบข้อมูลตัวอักษร จึงสามารถนำ QR Code มาประยุกต์ใช้ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น การเก็บข้อมูล URL ของเว็บไซต์, ข้อความ, เบอร์โทรศัพท์ และข้อมูลที่เป็นตัวอักษรได้อีกมากมาย ปัจจุบัน QR Code ถูกนำไปใช้ในหลายๆ ด้านเนื่องจากความ “ง่าย” เพราะทุกวันนี้คนส่วนใหญ่มีโทรศัพท์มือถือกันทุกคน และด้วยเทคโนโลยีปัจจุบันนี้ ทำให้โทรศัพท์มือถือมีกล้องเกือบทุกรุ่น ส่งผลให้ผู้บริโภคเข้าถึงการใช้งาน QR Code ได้อย่างง่ายดาย QR Code open Website ปัจจุบันเราสามารถติดตั้งซอฟต์แวร์สำหรับอ่าน QR Code หรือ 2D Bar Code นี้ไว้ในโทรศัพท์มือถือได้แล้ว เมื่อพบ QR Code ในนิตยสาร หรือป้ายโฆษณา ก็สามารถเอาโทรศัพท์มือถือไปสแกน เพื่อรับข้อมูลนั้นมาได้โดยสะดวก
QR Code in magazine Real book with QR Code hyperlink
  นอกจากนี้ QR Code ยังเริ่มนิยมอยู่บนนามบัตรแล้วด้วย โดยจะใช้ QR Code บันทึก URL ของข้อมูลส่วนต่างๆ บนเว็บไซต์ เช่น E-mail, Facebook หรือจะเก็บข้อมูลส่วนตัวในรูปแบบตัวอักษร เช่น ชื่อ ตำแหน่ง ที่อยู่ และเบอร์โทรศัพท์ ซึ่งอาจทำให้ในอนาคตเราอาจไม่จำเป็นต้องแลกนามบัตรกันอีกต่อไป เพียงแค่เอาโทรศัพท์มือถือมาสแกนที่นามบัตร ข้อมูลบนนามบัตรก็จะถูกจัดเก็บเข้ามือถือทันที เราสามารถสร้าง QR Code ส่วนตัวขึ้นได้เอง โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ โดยใช้โปรแกรมที่เรียกกันว่า QR Code Generator ได้ที่ 1. The Kaywa Reader URL: http://qrcode.kaywa.com The Kaywa Reader 2. TBarCode/X – Barcode Generator for Mac OS X V8.0.4 URL: http://www.apple.com
 
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร Barcode Generator

การใช้บาร์โค้ดในอุตสาหกรรม เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด

การใช้บาร์โค้ดในอุตสาหกรรม เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร  

บาร์โค้ดคืออะไร

บาร์ โค้ด (Barcode) เป็นรหัสแท่งประกอบด้วยเส้นมืด (มักจะเป็นสีดำ) และเส้นสว่าง(มักเป็นสีขาว) วางเรียงกันเป็นแนวดิ่ง เป็นรหัสแทนตัวเลขและตัวอักษร ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านรหัสข้อมูลได้ง่าย ขึ้น โดยใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) ซึ่งจะทำงานได้รวดเร็ว และช่วยลดความผิดพลาดในการคีย์ข้อมูลได้มาก บาร์โค้ดเริ่มกำเนิดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1950 โดยประเทศสหรัฐอเมริกาได้จัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจทางด้านพาณิชย์ขึ้น สำหรับค้นคว้ารหัสมาตรฐานและสัญลักษณ์ที่สามารถช่วยกิจการด้านอุตสาหกรรม และสามารถจัดพิมพ์ระบบบาร์โค้ดระบบ UPC-Uniform ขึ้นได้ในปี 1973 ต่อมาในปี 1975 กลุ่มประเทศยุโรปจัดตั้งคณะกรรมการด้านวิชาการเพื่อสร้างระบบบาร์โค้ดเรียก ว่า EAN-European Article Numbering สมาคม EAN เติบโตครอบคลุมยุโรปและประเทศอื่นๆ (ยกเว้นอเมริกาเหนือ) และระบบบาร์โค้ด EAN เริ่มเข้ามาในประเทศไทยเมื่อปี 1987

โดยหลักการแล้ว บาร์โค้ดจะถูกอ่านด้วยเครื่องสแกนเนอร์ บันทึกข้อมูลเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์โดยตรง โดยไม่ต้องกดปุ่มที่แท่นพิมพ์ ทำให้มีความสะดวก รวดเร็วในการทำงาน รวมถึงอ่านข้อมูลได้อย่างถูกต้องแม่นยำ เชื่อถือได้ และจะเห็นได้ชัดเจนว่าปัจจุบันระบบบาร์โค้ดเข้าไปมีบทบาทในทุกส่วนของ อุตสาหกรรม การค้าขาย และการบริการ ที่ต้องใช้การบริหารจัดการข้อมูลจากฐานข้อมูลในคอมพิวเตอร์ และปัจจุบันมีกระประยุกต์การใช้งานบาร์โค้ดเข้ากับการใช้งานของ Mobile Computer ซึ่งสามารถพกพาได้สะดวก เพื่อทำการจัดเก็บ แสดงผล ตรวจสอบ และประมวลในด้านอื่นๆ ได้ด้วย

บาร์โค้ด 2 มิติ

บาร์ โค้ด 2 มิติเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาเพิ่มเติมจากบาร์โค้ด 1 มิติ โดยออกแบบให้บรรจุข้อมูลได้ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน ทำให้สามารถบรรจุข้อมูลมากได้ประมาณ 4,000 ตัวอักษร หรือประมาณ 200 เท่าของบาร์โค้ด 1 มิติในพื้นที่เท่ากันหรือเล็กกว่า ข้อมูลที่บรรจุสามารถใช้ภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษได้ เช่น ภาษาญี่ปุ่น จีน หรือ เกาหลี เป็นต้น และบาร์ โค้ด 2 มิติสามารถถอดรหัสได้แม้ภาพบาร์โค้ดบางส่วนมีการเสียหาย อุปกรณ์ที่ใช้อ่านและถอดรหัสบาร์โค้ด 2 มิติมีตั้งแต่เครื่องอ่านแบบซีซีดี หรือเครื่องอ่านแบบเลเซอร์เหมือนกับบาร์โค้ด 1 มิติจนถึงโทรศัพท์มือถือแบบมีกล้องถ่ายรูปในตัวซึ่งติดตั้งโปรแกรมถอดรหัส ไว้ ลักษณะของบาร์โค้ด 2 มิติมีอยู่มากมายตามชนิดของบาร์โค้ด เช่น วงกลม สี่เหลี่ยมจตุรัส หรือสี่เหลี่ยมผืนผ้าคล้ายกันกับบาร์โค้ด 1 มิติ บาร์โค้ด 2 มิติ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท

* บาร์โค้ด 2 มิติ แบบสแต๊ก (Stacked Barcode) บาร์ โค้ดแบบสแต๊กมีลักษณะคล้ายกับการนำบาร์โค้ด 1 มิติมาวางซ้อนกันหลายแนว มีการทำงานโดยอ่านภาพบาร์โค้ดแล้วปรับความกว้างของบาร์โค้ดก่อนทำการถอดรหัส ซึ่งการปรับความกว้างนี้ทำให้สามารถถอดรหัสจากที่เสียหายบางส่วนได้ โดยส่วนที่เสียหายนั้นต้องไม่เสียหายเกินขีดจำกัดหนึ่งที่กำหนดไว้ การอ่านบาร์ดค้ดแบบสแต๊กสามารถอ่านได้ทิศทางเดียว เช่น อ่านจากซ้ายไปขวา หรือขวาไปซ้าย และการอ่านจากด้านบนลงล่างหรือจากด้านล่างขึ้นด้านบน ตัวอย่างบาร์โค้ดแบบสแต๊ก คือ บาร์โค้ดแบบ PDF417 (Portable Data File)

* บาร์โค้ด 2 มิติ แบบเมตริกซ์ (Matrix Codes) บาร์ โค้ดแบบเมตริกซ์มีลักษณะหลากหลายและมีความเป็นสองมิติมากกว่าบาร์โค้ดแบบ สแต๊กที่เหมือนนำบาร์โค้ด 1 มิติไปซ้อนกัน ลักษณะเด่นของบาร์โค้ดแบบเมตริกซ์คือมีรูปแบบค้นหา (Finder Pattern) ทำหน้าที่เป็นตัวอ้างอิงตำแหน่งในการอ่านและถอดรหัสข้อมูล ช่วยให้อ่านข้อมูลได้รวดเร็วและสามารถอ่านบาร์โค้ดได้แม้บาร์โค้ดเอียง หมุน หรือกลับหัว ตัวอย่างของบาร์โค้ดแบบแมตริกซ์ คือ บาร์โค้ดแบบ MaxiCode , บาร์โค้ดแบบ Data Matrix ,บาร์โค้ดแบบ QR Code

ข้อดีของการใช้บาร์โค้ด

* ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน : บาร์โค้ดจะช่วยให้การทำงานรวดเร็วขึ้น และมีความเที่ยงตรง แม่นยำมากในการจัดเก็บข้อมุลต่างๆ ตัวอย่างเช่น ในบางขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ต้องการความรวดเร็ว มีการติดตามงานที่แม่นยำ ใช้เวลาเพียงเล็กน้อยในการติดตามสถานะของวัตถุดิบ สินค้า หรือส่วนอื่นๆ ในสายการปฏิบัติงานที่จำเป็นต้องระมัดระวังทุกขั้นตอนในการดำเนินการ จะช่วยลดระยะเวลาในการแก้ไขปัญหาที่ไม่คาดคิดที่จะเกิดในกระบวนการทำงานได้ มากขึ้น * ประหยัดเวลา : โดยปกติคุณอาจต้องการพนักงาน 20 คนในการเช็คสต๊อกกลางปีในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ แต่สำหรับระบบบาร์โค้ดคุณต้องการเพียงพนักงาน 3 คนและใช้เวลาเพียง 6 ชั่วโมงในการเช็คสต๊อกให้เรียบร้อย ในการดำเนินงานในแต่ละวัน ถ้ามีการขนส่งสินค้า 20 กล่อง จากเดิมที่คุณต้องใช้เวลาประมาณ 5 นาทีในการจดรหัสสินค้า และเลขซีเรียล แต่คุณจะใช้เวลาเพียง 15-30 วินาทีเท่านั้นในการสแกนบาร์โค้ด นอกจากจะประหยัดเวลา ประหยัดทรัพยากรบุคคลแล้ว ระบบบาร์โค้ดยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานเป็นอย่างมาก * ลดข้อผิดพลาด : ข้อผิดพลาดที่เกิดในการจัดการข้อมูลบางครั้งอาจจะนำไปสู่ปัญหาใหญ่ๆ ได้ รวมถึงทำให้เสียเวลา เสียค่าใช้จ่ายโดยเปล่าประโยชน์และยังทำให้ลูกค้าเกิดความไม่พอใจด้วย ข้อผิดพลาดส่วนใหญ่เกิดจากพนักงานใส่ข้อมูลผิดพลาด แต่ถ้าใช้บาร์โค้ดในการจัดเก็บข้อมูล ความเที่ยงตรง แม่นยำที่มากกว่า จะช่วยลดข้อผิดพลาดในการทำงานได้เป็นอย่างมาก * ลดค่าใช้จ่าย เมื่อบาร์โค้ดมีการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัดเวลามากขึ้น ลดอัตราการจ้างงาน คุณก็จะประหยัดเวลาในการทำงาน และประหยัดค่าใช้จ่ายในโครงการต่างๆ

การทำงานของบาร์โค้ด

เครื่อง อ่านบาร์โค้ด จะทำงานโดยแยกความกว้างระหว่างพื้นที่มืดและพื้นที่สว่างออกมาเป็นรหัสตัว เลข เมื่อแสงจากเครื่องอ่านบาร์โค้ดมากระทบบาร์โค้ดในลักษณะวางพาดขวาง แสงสะท้อนที่ออกจากเส้นมืดจะน้อยกว่าแสงที่สะท้อนออกจากพื้นที่สว่าง เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะแปลงแสงสะท้อนนี้เป็นรหัสไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์หรือ เครื่องมือจัดเก็บข้อมูลแบบพกพา มีบาร์โค้ดบางแบบที่มีการตรวจสอบความ ถูกต้องของบาร์โค้ด โดยมีการคำนวนเลขตรวจสอบ (Check digit Calculation) และแสดงค่านั้นๆ มาท้ายของข้อมูลที่อ่านได้ เช่นบาร์โค้ดในแบบ UPC/EAN และการอ่านบาร์โค้ดจะแสดงผลทั้งการอ่านปกติและผลของการเปรียบเทียบของการ ตรวจสอบบาร์โค้ด และเมื่อพบข้อผิดพลาดของข้อมูลในตัวบาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด หรือโปรแกรมที่ใช้พิมพ์บาร์โค้ดจะแสดงข้อผิดพลาดดังกล่าวออกมา เพื่อทำการแก้ไข และให้ทำการอ่านบาร์โค้ดหรือพิมพ์บาร์โค้ดใหม่อีกครั้ง บาร์ โค้ดในแต่ละแบบมีรูปแบบของลักษณะแท่งบาร์โค้ดที่แต่งต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นขนาดของแท่งบาร์โค้ด ลักษณะการจัดวางตัวอักษร/ตัวเลข วิธีการบันทึกข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของบาร์โค้ด และอื่นๆ แต่โดยทั่วไปแล้วผู้ใช้งานมักจะสนใจคุณสมบัติการใช้งานมากกว่าข้อมูลทางด้าน เทคนิคของบาร์โค้ดนั้นๆ

ระบบบาร์โค้ดในงานอุตสาหกรรมการผลิต

ในยุคปัจจุบันนี้บาร์โค้ดหรือรหัสแท่งเริ่มมีบทบาทมากขึ้นในชีวิตของคนเราคุณสามารถพบเห็นรหัสแท่งได้เกือบทุกสถานที่ ไม่ว่าจะเป็นร้านค้าทั่วไป โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า สถานกักขัง ฟาร์ม หรือแม้กระทั่งบนสิ่งของต่าง ๆ ในบ้านของคุณ รหัสแท่งเหล่านี้ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของเราไปโดยปริยาย หากแต่รหัสแท่งเหล่านี้คืออะไร และมันให้ประโยชน์อะไรบ้าง มันไม่น่าแปลกใจเลยที่คุณจะไม่รู้เรื่องและรู้สึกสับสนกับ รหัสแท่งเหล่านี้ที่อยู่บนซองบรรจุอาหาร กล่องสินค้า ซองจดหมาย สายรัดข้อมือคนไข้ในโรงพยาบาล และสิ่งต่าง ๆ อีกมากมาย ดูผิวเผินแล้วรหัสแท่งเหล่านี้มีลักษณะหน้าตาคล้าย ๆ กัน แต่ในความเป็นจริงแล้วรหัสแท่งแต่ละอันนั้นมันแตกต่างกัน ในแต่ละอุตสาหกรรมก็มีมาตรฐานของรหัสแท่งที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งจะอธิบายต่อไปภายหลัง หากคุณต้องการที่จะติดตั้งระบบการจัดการข้อมูล โดยใช้รหัสแท่งแล้ว คุณต้องพิจารณาถึงปัจจัยต่าง ๆ เพื่อตัดสินใจเลือกใช้ระบบรหัสแท่งที่ถูกต้องเหมาะสม กับธุรกิจและการใช้งานของคุณ หลังจากอ่านบทความนี้แล้ว คุณจะสามารถหาคำตอบที่คุณสงสัยเกี่ยวกับรหัสแท่ง การทำงานของรหัสแท่ง เพื่อนำไปประกอบการตัดสินใจเลือกฃื้อ เลือกหา และตัดสินใจเลือกใช้งานระบบการจัดการข้อมูล โดยใช้รหัสแท่งให้เหมาะสมยิ่งขึ้น คุณจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้ - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับรหัสแท่ง - รูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่ง - สแกนเนอร์ (Scanner)—แบบฟิกซ์ (Fixed), แบบแป้นพิมพ์ชนิดพกพา, และแบบไร้สาย - การผนวกระบบจัดการข้อมูลโดยใช้รหัสแท่งเข้ากับระบบงานเดิมที่ใช้อยู่ - ซอฟต์แวร์ (Software) ระบบจัดการข้อมูลโดยใช้รหัสแท่ง - การจัดพิมพ์รหัสแท่ง - ลักษณะการประยุกต์ใช้งานและอุตสาหกรรมที่ใช้รหัสแท่ง - คำถามที่ควรถามในการเลือกซื้อระบบจัดการข้อมูลโดยใช้รหัสแท่ง - อื่น ๆ จุดประสงค์ในการนำเสนอ ความรู้เบื้องต้นเรื่องรหัสแท่ง นี้เพื่อให้นักธุรกิจมืออาชีพอย่างคุณ ได้เข้าใจถึงประโยชน์ต่าง ๆ ของการนำระบบการจัดการข้อมูลโดยใช้รหัสแท่ง ไปใช้กับธุรกิจของคุณ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน และเพิ่มผลกำไรของการประกอบการ

ซ่อนอะไรไว้ระหว่างแท่ง

สิ่งแรกคือคุณไม่ต้องไปกลัวเมื่อเห็นรหัสแท่ง คุณไม่จำเป็นจะต้องเป็นอัจฉริยะด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับสิ่งที่ถูกเก็บไว้ในรหัสแท่ง จริง ๆ แล้วรหัสแท่งก็เป็นเพียงอีกหนึ่งวิธีการในการเขียนตัวเลข และตัวหนังสือ โดยใช้สัญลักษณ์แท่งและช่องว่างที่ไม่เท่ากัน ประกอบกันเป็นรูปสัญลักษณ์ หรือในอีกมุมมองหนึ่ง รหัสแท่งก็คืออีกหนึ่งวิธีของการป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แทน ที่จะนั่งพิมพ์ข้อมูลโดยใช้แป้นพิมพ์ สำหรับ ธุรกิจที่มีการนำรหัสแท่งไปใช้งานอย่างถูกวิธีและเหมาะสมแล้ว จะช่วยทำให้ลดความเสียหายและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฎิบัติงานได้มากขึ้น ซึ่งส่งผลให้ผลประกอบการเพิ่มขึ้นด้วย พูดง่าย ๆ ก็คือการใช้รหัสแท่งจะช่วยทำให้การป้อนข้อมูลสะดวก รวดเร็ว และแม่นยำมากยิ่งขึ้น

สิ่งที่คุณจะได้อ่านต่อไปนี้อาจจะทำให้คุณแปลกใจอยู่บ้าง รหัสแท่งไม่ได้เก็บข้อมูลอย่างละเอียด ซึ่งก็เป็นทำนองเดียวกับเลขประจำตัวประชาชนของคุณที่ไม่ได้เก็บข้อมูล ชื่อและที่อยู่ของคุณ รหัสแท่งเก็บแค่ตัวเลขอ้างอิงที่ใช้เพื่อเรียกดูรายละเอียด ของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน

ตัวอย่าง: รหัสแท่งที่อยู่บนขนมปังจะไม่มีชื่อของสินค้า ประเภทของขนมปัง หรือราคาของขนมปัง ข้อมูลที่เก็บอยู่บนรหัสแท่งก็คือตัวเลข 12 หลักหนึ่งชุด หลังจากที่ตัวเลขนี้ถูกอ่านผ่านเครื่องเก็บเงินแล้ว มันจะถูกส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อจะทำการเรียกหา และดึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขชุดนี้ขึ้นมาจากระบบฐานข้อมูล เช่นรายละเอียดของสินค้า ชื่อบริษัทคู่ค้า ราคาสินค้า สต็อกที่เหลืออยู่ เป็นต้น ในขณะเดียวกัน ราคาสินค้า จะปรากฏที่หน้าจอของเครื่องเก็บเงิน (ซึ่งระบบจะทำการตัดสต็อกสินค้าออกจากระบบทันที) กระบวนการดังกล่าวนี้จะเกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน ถ้าไม่มีการใช้รหัสแท่ง พนักงานเก็บเงินจะต้องทำการป้อนรหัสสินค้าทั้งหมด ทุกชิ้นที่เป็นตัวเลข 12 หลักด้วยตัวเอง ซึ่งอาจจะใช้เวลามากขึ้นและอาจป้อนข้อมูลผิดพลาดได้ โดยสรุปแล้วรหัสแท่งเก็บข้อมูลเป็นตัวเลขรหัสสินค้า ซึ่งเมื่อมีการอ่านผ่านสแกนเนอร์แล้ว ตัวเลขดังกล่าวจะถูกส่งไปยังคอมพิวเตอร์เพื่อทำการค้นหา และแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขชุดนั้น รูปสัญลักษณ์: ความหมาย การใช้สัญลักษณ์ถือได้ว่า เป็นภาษาของรหัสแท่งเลยทีเดียว ยกตัวอย่างง่าย ๆ เช่นเมื่อคุณเดินทางไปประเทศฝรั่งเศส คุณก็ต้องใช้ภาษาฝรั่งเศสในการติดต่อสื่อสาร ในทำนองเดียวกันภาษาของรหัสแท่งคือภาษาสัญลักษณ์ ซึ่งต้องใช้สแกนเนอร์เป็นตัวอ่าน รูปสัญลักษณ์ดังกล่าวนี้เองที่ทำให้ สแกนเนอร์อ่านข้อมูล ที่เก็บอยู่ในรหัสแท่งได้ถูกต้อง และเมื่อคุณต้องการที่จะพิมพ์รหัสแท่ง รูปสัญลักษณ์นี้ก็จะเป็นตัวบอกให้ เครื่องพิมพ์ ทำการพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการลงบนฉลากของตัวสินค้า

รูปสัญลักษณ์ประเภทต่าง ๆ ของรหัสแท่ง รูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่งมีหลากหลายรูปแบบ โดยทั่วไปแล้วเราจะคุ้นเคยกับรูป สัญลักษณ์ของรหัสแท่ง ที่ใช้ตามร้านขายของอุปโภคบริโภคทั่วไป หรือซุปเปอร์มาร์เกต แต่ในความเป็นจริงแล้วรูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่งมีหลายรูปแบบ แล้วแต่ประเภทของอุตสาหกรรมหรือธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นด้านสุขภาพ ด้านการผลิต หรือด้านธุรกิจขายปลีก ซึ่งรูปสัญลักษณ์นี้ใช้ได้เฉพาะอุตสาหกรรมหรือธุรกิจของใครของมัน ไม่สามารถนำมาใช้ทดแทนกันได้ คุณอาจจะมีคำถามว่าทำไมจะต้องมีรูปสัญลักษณ์ ของรหัสแท่ง ที่แตกต่างกันด้วย คำตอบที่ง่ายที่สุดก็คือ รูปสัญลักษณ์เหล่านี้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหา ที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมหนึ่ง ๆ เท่านั้น รูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่งที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันมีดังต่อไปนี้

บาร์โค้ดแบบตัวเลข
ยูพีซี/อีเอเอ็น (UPC/EAN) รูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่งประเภทนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อใช้สำหรับการเก็บเงิน (check out) ยูพีซีเป็นรหัสแท่งที่มีความยาวของรหัสแท่งที่แน่นอน ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ และเป็นมาตรฐาน ที่ถูกกำหนดใช้ในธุรกิจขายปลีกและธุรกิจที่เกี่ยวกับอาหารเท่านั้น ยูพีซีถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้สามารถนำมาใช้งานกับมาตรฐาน รหัสสินค้าที่เป็นตัวเลข 12 หลักสำหรับธุรกิจด้านนี้ EAN-13(European Article Numbering international retail product code) เป็นแบบบาร์โค้ดที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในโลก โดยบาร์โค้ดประเภทนี้จะมีลักษณะเฉพาะของชุดตัวเลขจำนวน 13 หลัก ซึ่งมีความหมายดังนี้ 3 หลักแรก คือ รหัสของประเทศที่กำหนดขึ้นมาเพื่อให้ผู้ผลิตได้ทำการลงทะเบียนได้ทำการผลิตจากประเทศไหน 4 หลักถัดมา คือ รหัสโรงงานที่ผลิต 5 หลักถัดมา คือ รหัสของสินค้า และ ตัวเลขในหลักสุดท้าย จะเป็นตัวเลขตรวจสอบความถูกต้องของบาร์โค้ด (Check digit) แม้ ว่าบาร์โค้ดแบบ EAN-13 จะได้รับการยอมรับไปทั่วโลก แต่ในสหรัฐอเมริกาและแคนนาที่เป็นต้นกำเนิดบาร์โค้ดแบบ UPC-A ยังคงมีการใช้บาร์โค้ดแบบเดิม จนวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2005 หน่วยงาน Uniform Code Council ได้ประกาศให้ใช้บาร์โค้ดแบบ EAN-13 ไปพร้อมๆ กับ UPC-A ที่ใช้อยู่เดิม การออกประกาศในครั้งนี้ทำให้ผู้ผลิตที่ต้องการส่งออกสินค้าไปยังสหรัฐ อเมริกาและแคนาดาต้องใช้บาร์โค้ดทั้ง 2 แบบบนผลิตภัณฑ์ การคำนวนตัวเลขตรวจสอบความถูกต้องของบาร์โค้ดแบบ EAN-13 (Check digit Calculation) * นำตัวเลขในตำแหน่งคู่ (หลักที่ 2,4,6,8,10,12 )มารวมกัน แล้วคูณด้วย 3 * นำตัวเลขในตำแหน่งคี่ (หลักที่ 1,3,5,7,9,11 )มารวมกัน * นำผลลัพท์จากข้อ 1 และ 2 มารวมกัน * นำผลลัพท์ที่ได้จากข้อ 3 ทำการ MOD ด้วย 10 จะได้เป็นตัวเลข (Check digit ) ที่จะต้องแสดงในหลักที่ 13

EAN-8 เป็นบาร์โค้ดแบบ EAN ที่เหมาะสมหรับผลิตภัณฑ์ขนาดเล็ก ใช้หลักการคล้ายกันกับบาร์โค้ดแบบ EAN-13 แต่จำนวนหลักน้อยกว่า คือ จะมีตัวเลช 2 หรือ 3 หลัก แทนรหัสประเทศ 4 หรือ 5 หลักเป็นข้อมูลสินค้า และอีก 1 หลักสำหรับตัวเลขตรวจสอบความถูกต้องของบาร์โค้ด (Check Digit) แต่สามารถขยายจำนวนหลักออกไปได้อีก 2 หรือ 5 หลัก ในลักษณะของ Extension Barcode (UPC-A+2 , UPC-A+5 ) ซึ่งเป็นคนละลักษณะกับการใช้บาร์โค้ดแบบ UPC-E ที่จะต้องพิมพ์ออกมาในรูปแบบเต็มเหมือน UPC-A แต่ทำการตัด 0 (ศุนย์) ออก ข้อมูลตัวเลขในสัญลักษณ์บาร์โค้ดแบบ EAN-8 จะบ่งชี้ถึงผู้ผลิตและผลิตภัณฑ์ และเมื่อมีการใช้ EAN-8 มากขึ้นในหลายประเทศ จำนวนของตัวเลขที่นำมาใช้ซึ่งมีจำนวนจำกัดทำให้ไม่เพียงพอกับผู้ใช้จึงหันมา ใช้บาร์โค้ดแบบ EAN-13 แทน

UPC-A (Universal Product Code) พบมากในธุรกิจค้าปลีกของประเทศสหรัฐอเมริกา และ แคนนาดา รหัสบาร์โค้ดที่ใช้เป็นแบบ 12 หลัก หลักที่ 1 เป็นหลักที่ระบุประเภทสินค้า และตัวที่ 12 เป็นหลักที่แสดงตัวเลขที่ใช้ตรวจสอบความถูกต้องของบาร์โค้ด รหัสบาร์โค้ดแบบ UPC มีหน่วยงาน Uniform Council [UCC] ที่ตั้งอยู่รัฐ OHIO ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ดูแลในการจดทะเบียนบาร์โค้ด

UPC-E เป็นบาร์โค้ดแบบ UPC ที่เหมาะสำหรับผลิตภัณฑ์ขนาดเล็ก ถูกพัฒนามาจากบาร์โค้ดแบบ UPC-A โดยตัดจะเลข 0 (ศูนย์) ออกทั้งหมด บาร์โค้ด UPC-E สามารถพิมพ์ออกมาได้ขนาดเล็กมาก ไว้ใช้สำหรับป้านขนาดเล็กที่ติดบนตัวสินค้า

Interleaved 2 of 5 เป็นรหัสบาร์โค้ดที่ใช้ในระบบรับ-ส่งสินค้า รหัสบาร์โค้ดแบบนี้เหมาะสำหรับพิมพ์ลงบนกระดาษลูกฟูก มักใช้ในโกดังจัดเก็บสินค้า และอุตสาหกรรมต่างๆ

บาร์โค้ดที่ใช้ตัวเลขและตัวอักษร

โค้ด 39 (Code 39) รูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่งประเภทนี้ถูกพัฒนาขึ้นมา จากความต้องการที่จะนำเอาข้อมูลที่เป็นตัวอักษรเข้าไปในรหัสแท่ง ด้วย และโค้ด 39 ก็เป็นรูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่ง ที่นิยมใช้มากที่สุดในธุรกิจและอุตสาหกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับอาหาร โดยทั่วไปแล้วนิยมนำไปใช้งานด้านการจัดการสินค้าคงคลัง หรือการติดตามความเคลื่อนไหวของวัตถุดิบในโรงงานผลิตสินค้า ความยาวของรูปสัญลักษณ์แบบโค้ด 39 นี้ค่อนข้างยาวและอาจจะไม่เหมาะสมหากฉลากสินค้ามีพื้นที่จำกัด
โค้ด 128 (Code 128) เนื่องจากโค้ด 39 เก็บข้อมูลที่เป็นตัวอักษรได้ค่อนข้างจำกัด ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนาโค้ด 128 ขึ้นมาใช้งาน และเหมาะสมกับฉลากสินค้าที่มีพื้นที่จำกัด เพราะรหัสแท่งแบบโค้ด 128 นี้จะกะทัดรัดและดูแน่นกว่าโค้ด 39 โดยทั่วไปแล้วโค้ด 128 นิยมใช้ในอุตสาหกรรม การจัดส่งสินค้าซึ่งมีปัญหาด้านการพิมพ์ฉลาก   บาร์โค้ด 2 มิติ  

โพสต์เน็ต (Postnet) เป็นรูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่งที่ถูกพัฒนาสำหรับการไปรษณีย์ ของประเทศอเมริกาโดยเฉพาะ ข้อมูลที่เก็บอยู่ในรหัสแท่งแบบโพสต์เน็ตคือรหัสไปรษณีย์ เพื่อใช้สำหรับการแยกประเภทของจดหมายเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการจัดส่ง  
PDF417 (Portable Data File) เป็นบาร์โค้ด 2 มิติแบบสแต๊ก ซึ่งพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1992 โดยบริษัท Symbol Technologies ประเทศสหรัฐอเมริกา บาร์โค้ดแบบ PDF417 สอดคล้องกับมาตรฐาน ISO/IEC 15438 และ AIM USS-PDF417 ลักษณะบาร์โค้ดเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีส่วนแทนรหัสข้อมูลหรือที่เรียกว่าโมดูลข้อมูล (Data Module) เป็นแถบสีดำและสีขาวเรียงตัวกันหลายๆ แถวทางแนวตั้งและแนวนอน ซึ่งประกอบด้วย 3 ถึง 90 แถว และ 1 ถึง 30 คอลัมน์ สามารถบรรจถข้อมูลได้มากสุดถึง 2,710 ตัวเลข 1,850 ตัวอักษร 1,018 ไบนารี คำว่า PDF ย่อมาจาก Portable Data File และประกอบไปด้วย 4 แถบ และ 4 ช่องว่างใน 17 โมดูล จึงทำให้ได้หมายเลข 417 เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะสามารถอ่านได้ในทิศทางเดียว เช่น อ่านจากทางซ้ายไปขวา หรือ ขวาไปซ้าย และอ่านจากบนลงล่าง หรือ ล่างขึ้นบน เป็นต้น โดยส่วนใหญ่บาร์โค้ดแบบ PDF 417 จะนำไปใช้กับงานที่ต้องการความละเอียด และถูกต้องเป็นพิเศษ   พีดีเอฟ417 (PDF417) รูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่งแบบพีดีเอฟ417 หรือเรียกอีกอย่างว่า รหัสแท่งสองมิติ เป็นรูปสัญลักษณ์ที่มีความหนาแน่นของรหัสแท่ง มากกว่าปกติและไม่เป็นเส้นตรง ใกล้เคียงกับตารางคำศัพท์อักษรไขว้ที่เคยเห็นอยู่ทั่วไป สิ่งที่ทำให้รหัสแท่งแบบพีดีเอฟ417แตกต่างจากรหัสแท่งแบบอื่น ๆ ที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดก็คือข้อมูลที่เก็บอยู่ในรหัสแท่ง พีดีเอฟ417 จะเก็บข้อมูลเป็นลักษณะแฟ้มข้อมูลแทนที่จะเป็นข้อมูลตัวเลขอ้างอิง บางรัฐ (ในประเทศอเมริกา) จะนำรหัสแท่งสองมิตินี้ไปใช้บนใบขับขี่ ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลส่วนตัวของคุณได้มากมาย เช่นชื่อของคุณ รูปถ่าย บันทึกข้อหาที่คุณเคยฝ่าฝืนกฎจราจร และข้อมูลอื่น ๆ รูปสัญลักษณ์แบบพีดีเอฟ417 ซึ่งมีขนาดเท่ากับแสตมป์นี้สามารถที่จะเก็บเนื้อหา ของคำประกาศที่เกทตี้ส์เบอร์กได้ทั้งหมด

Data Matrix บาร์โค้ด 2 มิติแบบนี้ ถูกพัฒนาดโดยบริษัท RVSI Acuity Cimatrix ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปี ค.ศ. 1989 สอดคล้องกับมาตรฐาน ISO/IEC 16022 และ ANSI/AIM BC11-ISS-Data Matrix ลักษณะบาร์โค้ดมีทั้งรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสและสี่เหลี่ยมผืนผ้า สำหรับบาร์โค้ดรูปสี่เหลี่ยมจตุรัสมีโมดูลข้อมูลระหว่าง 10 x 10 ถึง 144 x 144 โมดูล และรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามี 8 x 18 ถึง 16 x 48 โมดูล Data Matrix สามารถบรรจุข้อมูลได้มากที่สุด 3,116 ตัวเลข หรือ 2.355 ตัวอักษร แต่สำหรับข้อมูลประเภทอื่นได้แก่ข้อมูลเลขฐานสองบรรจุได้ 1,556 ไบต์ (1 ไบต์เท่ากับเลขฐานสอง 8 หลัก) และตัวอักษรภาษาญี่ปุ่นบรรจุได้ 778 ตัวอักษร รูปแบบค้นหาของบาร์โค้ดแบบ Data Matrix อยู่ที่ตำแหน่งของด้านซ้ายและด้านล่างของบาร์โค้ด บาร์โค้ด Data Matrix ส่วนใหญ่ใช้ในงานที่มีพื้นที่จำกัดและต้องการบาร์โค้ดขนาดเล็ก   สิ่งที่สำคัญควรจำก็คือ ถ้าขนาดของแท่งและช่องว่างของรูปสัญลักษณ์ของ รหัสแท่งยิ่งกว้างเท่าไหร่ พื้นที่ที่ใช้พิมพ์รหัสแท่งก็จะกว้างขึ้นไปเท่านั้น เป็นผลให้ความแน่นและความทึบของรหัสแท่งลดลงไปตามกัน ในทางตรงกันข้าม ถ้าขนาดของแท่งและช่องว่างแคบลงไป พื้นที่ที่ใช้พิมพ์รหัสแท่งก็น้อยลงไป เป็นผลให้ความแน่นและความทึบของรหัสแท่งเพิ่มมากขึ้น เรื่องการพิมพ์รหัสแท่งจะได้กล่าวถึงถัดไป หากคุณต้องการข้อมูลเลขรหัสของผู้ผลิตรหัสแท่งยูพีซี คุณสามารถสอบถามได้ที่ ยูนิฟอร์มเคาท์ซิล (Uniform Code Council) เบอร์โทรศัพท์ 937-435-3870 ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับรหัสแท่ง คุณสามารถสอบถามได้ที่ เอไอเอ็ม ยูเอสเอ (AIM USA) เบอร์โทรศัพท์ 412-963-8588 อ่านรหัสแท่งอย่างไร รหัสแท่งถูกอ่านโดยการฉายแสงพาดไปยังรูปสัญลักษณ์บนฉลาก คุณจะมองเห็นเพียงแสงเลเซอร์สีแดงบาง ๆ ที่ถูกยิงออกมาจากสแกนเนอร์เท่านั้น แต่ในขณะเดียวกันนั้นแสงที่ยิงออกจากสแกนเนอร์นั้นจะถูกดูดซับไว้โดยแท่งสีทึบของรหัสแท่ง และสะท้อนออกไปด้วยช่องว่างสีขาวของรหัสแท่ง เครื่องสแกนเนอร์จะทำการเก็บเอาแสงที่ถูกสะท้อนกลับออกมานั้น แล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้า แสงเลเซอร์ที่ยิงออกมาจากสแกนเนอร์ (แหล่งกำเนิดแสง) จะทำการอ่านรหัสแท่งเริ่มต้นจากส่วนที่เป็นสีขาว (ไควเอ็ดโซน, Quiet zone) ก่อนรูปแท่งสีดำแท่งแรก และทำการอ่านไปจนถึงส่วนที่เป็นสีขาวหลังจากรูปแท่งสีดำแท่งสุดท้าย ถ้าแสงเลเซอร์นั้นฉายออกนอกขอบเขตของรูปสัญลักษณ์ ของรหัสแท่งแล้ว เครื่องจะไม่สามารถอ่านรหัสแท่งได้ ความสูงของรูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่งนั้นถูกกำหนดมาในมีความสูง ที่เพียงพอทำให้การอ่านรหัสเป็นไปอย่างราบรื่นไม่ออกนอกขอบเขต ถ้าข้อมูลที่เก็บอยู่ในรหัสแท่งเพิ่มขึ้นมากเท่าไร ความยาวของรูปสัญลักษณ์จะยาวเพิ่มขึ้น และส่งผลให้ความสูงของรหัสเพิ่มขึ้นตามไปเช่นเดียวกัน ประเภทของสแกนเนอร์ ในปัจจุบันสแกนเนอร์แบ่งออกเป็นสามประเภทใหญ่ ๆ คือ แบบฟิกซ์ แบบสำหรับอ่านรหัสแท่งเป็นชุดชนิดพกพาได้ และแบบไร้สายชนิดพกพา 1.สแกนเนอร์แบบฟิกซ์ (ชนิดถือ และชนิดตั้งโต๊ะ) โดยทั่วไปจะยังคงมีสายติดอยู่กับคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินัล (terminal) และสามารถใช้อ่านรหัสแท่งได้ครั้งละหนึ่งรหัสเท่านั้น 2.สแกนเนอร์แบบสำหรับอ่านรหัสแท่งเป็นชุดชนิดพกพานั้น ทำงานโดยใช้แบตเตอรี่และทำการเก็บข้อมูลที่อ่านได้ไว้ในส่วนความจำ ที่อยู่ในตัวมันเอง จนกว่าจะมีการย้ายข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ 3.สแกนเนอร์แบบไร้สายชนิดพกพานั้นทำการเก็บข้อมูล ที่อ่านได้ไว้ในส่วนความจำเช่นเดียวกัน แต่ว่าข้อมูลดังกล่าวนี้จะถูกย้ายไปยังคอมพิวเตอร์ทันที ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถเรียกดูข้อมูลได้ทันทีหากมีปัญหา ที่ต้องทำการตัดสินใจขณะนั้นทันที สแกนเนอร์ทำงานอย่างไร เครื่องสแกนเนอร์โดยทั่วไปแล้วจะมีส่วนประกอบพื้นฐานคือ หัวอ่าน เครื่องถอดรหัส และสายไฟสำหรับการเชื่อมต่อ ระหว่างเครื่องถอดรหัสและคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินัล หน้าที่ หลักของหัวอ่านก็คือทำการอ่านรูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่ง และทำการส่งสัญญาณไฟฟ้าที่ได้จากการอ่านรหัสแท่งไปยังคอมพิวเตอร์ แต่อย่างไรก็ตามเครื่องถอดรหัสเป็นตัวแปลรหัสแท่งที่อยู่บนรูปสัญลักษณ์ และทำการวิเคราะห์สิ่งที่อ่านได้ เพื่อทำการส่งต่อข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ เครื่องสแกนเนอร์มีทั้งเครื่องที่มีอุปกรณ์ถอดรหัสในตัว หรือเป็นอุปกรณ์แยกออกไปต่างหากเพื่อทำการถอดรหัส อุปกรณ์ดังกล่าวนี้เรียกว่า อินเทอร์เฟส (interface) หรือเวดจ์ (wedge) เครื่องสแกนเนอร์แบบไม่มีเครื่องถอดรหัสในตัวนั้น นิยมนำไปใช้งานร่วมกับเครื่องสแกนเนอร์สำหรับอ่านรหัสแท่งเป็นชุด ซึ่งการถอดรหัสจะเกิดขึ้นที่เทอร์มินัลเอง การติดตั้งสแกนเนอร์เข้ากับคอมพิวเตอร์ เครื่องสแกนเนอร์แบบฟิกซ์ เครื่องอ่านชนิดใช้แป้นพิมพ์ เครื่องอ่านชนิดใช้แป้นพิมพ์นี้จะถูกติดตั้งเข้ากับพอร์ทที่เรียกว่าคีย์บอร์ด อินเทอร์เฟส (keyboard interface) เมื่อมีการอ่านข้อมูลจากรหัสแท่งเข้ามาแล้ว ข้อมูลดังกล่าวจะถูกป้อนเข้าคอมพิวเตอร์โดยผ่านแป้นพิมพ์ บางครั้งจะเรียกเครื่องสแกนเนอร์ชนิดนี้ว่าเครื่องอ่านแบบตอกเพราะมีการใช้แป้นพิมพ์จริง ๆ เครื่องอ่านชนิดนี้จะถูกติดตั้งเป็นเสมือนแป้นพิมพ์อันที่สอง ข้อดีของการใช้เครื่องสแกนเนอร์ชนิดนี้ก็คือเราไม่ต้องเป็นกังวลกับเรื่องซอฟต์แวร์ที่ใช้อยู่และไม่จำเป็นต้อง มีการเปลี่ยงแปลงซอฟต์แวร์อะไรใด ๆ ทั้งสิ้น เพราะซอฟต์แวร์ที่ทำงานอยู่นั้นจะคิดว่ามีการป้อนข้อมูลจากทางแป้นพิมพ์โดยคน เครื่องอ่านรหัสแท่งแบบซีเรียลพอร์ท (serial port) วิธีการอ่านรหัสแท่งอีกวิธีหนึ่งคือการใช้สแกนเนอร์ แบบซีเรียลพอร์ทแบบอาร์เอส-232 (RS-232) ข้อมูลในรหัสแท่งจะถูกส่งเข้าไปยังคอมพิวเตอร์ในรูป แบบแอสคีย์ (ASCII) เสมือนคุณเป็นคนป้อนข้อมูลเข้าด้วยตัวเอง การใช้เครื่องอ่านรหัสแท่งแบบซีเรียลพอร์ทเหมาะสำหรับงาน ที่มีคนใช้งานจำนวนมาก เนื่องจากเราใช้เทอร์มินัลที่มีซีเรียลพอร์ท ทำให้เราสามารถทำการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องเข้าด้วยกัน และรับส่งข้อมูลเป็นรูปแบบแอสคีย์ เครื่องสแกนเนอร์แบบสำหรับอ่านรหัสแท่งเป็นชุดชนิดพกพา เครื่องสแกนเนอร์ชนิดมีทำงานโดยใช้แบตเตอรี่ และทำการเก็บข้อมูลที่อ่านได้ไว้ในส่วนความจำในตัวมันเอง และทำการส่งถ่ายข้อมูลในเวลาอื่น ๆ ส่วนประกอบของสแกนเนอร์แบบสำหรับอ่านรหัสแท่งเป็นชุดชนิดพกพานั้นคือ หัวอ่าน และหน้าจอแอลซีดี (LCD) เพื่อแสดงข้อความให้ผู้ใช้งานได้รับรู้ว่าจะต้องทำอะไรขั้นต่อไป และทำการป้อนข้อมูลต่าง ๆ เข้าไป การถ่ายโอนข้อมูลที่อ่านได้นั้นจะต้องผ่านเครเดิล (cradle) เท่านั้น สแกนเนอร์แบบสำหรับอ่านรหัสแท่งเป็นชุดชนิดพกพาเหมาะสำหรับประเภทของงาน ที่ต้องเดินไปเดินมาและข้อมูลที่อ่านได้ยังไม่จำเป็นต้องรีบนำไปใช้งาน สแกนเนอร์แบบสำหรับอ่านรหัสแท่งเป็นชุดชนิดพกพานี้มีหลากหลายรูปแบบเช่น แบบมือถือ แบบห้อยติดตัวได้ หรือจะเป็นแบบตั้งโต๊ะได้ ความเหมาะสมในการใช้งานนั้นขึ้นอยู่กับประเภทของธุรกิจของคุณ สแกนเนอร์ไร้สายชนิดพกพา ถ้าคุณจำเป็นที่จะต้องทำการเก็บข้อมูลจากที่ไกล ๆ และจำเป็นต้องรีบด่วนนำเอาข้อมูลนั้น ๆ มาใช้งานแล้วล่ะก็ สแกนเนอร์ไร้สายชนิดพกพานี้ดูจะเหมาะสมที่สุด และสามารถนำไปติดตั้งเข้าใช้งานกับเทอร์มินัลที่มีอยู่ได้อย่างไม่มีปัญหา และข้อมูลจะถูกส่งไปยังคอมพิวเตอร์ต่อไป สแกนเนอร์แบบไร้สายนี้ช่วยในผู้ใช้งานทำการอ่านข้อมูล ได้ทันทีซึ่งทำให้เป็นที่น่าสนใจสำหรับหลายอุตสาหกรรม . สแกนเนอร์ชนิดเคเบิล (Cables) สแกนเนอร์ชนิดเคเบิลนี้ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของคุณว่าคุณต้องการที่จะทำการเชื่อมต่อสแกนเนอร์อย่างไร เคเบิลนี่มีหลายชนิด เช่น อาร์เอส-232 ไดเรคเคเบิล (RS-232 Direct Cables) หรือว่าจะเป็นอแดปเตอร์ (adapter) ของไซแนป (Synapse) ไม่ว่าจะเป็นสแกนเนอร์ชนิดเคเบิลแบบใดก็ต้องใช้ไฟฟ้า เครื่องชนิดอาร์เอส32 นั้นมีทั้งแบบ 9 เข็ม หรือ 25 เข็ม ใช้สำหรับต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ ถ้าใช้อแดปเตอร์ของไซแนปแล้วคุณสามารถเชื่อมต่อเครื่องสแกนเนอร์หนึ่งเครื่อง เข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องได้ การเลือกสแกนเนอร์ให้เหมาะสมกับการใช้งาน คุณจะนำสแกนเนอร์ไปใช้งานในลักษณะและสิ่งแวดล้อมแบบใด? นำไปใช้ในโรงงานหรือร้านขายของชำ? - คุณจำเป็นที่จะต้องใช้สแกนเนอร์อย่างต่อเนื่องหรือเพียงแค่ครั้งคราว? - คุณต้องการสแกนเนอร์แบบไม่ต้องถือหรือไม่? - คุณต้องใช้เครื่องสแกนเนอร์เพื่อทำการอ่านรหัสในระยะใกล้หรือไกลจากรูปสัญลักษณ์ของรหัสแท่ง? - คุณจะนำเครื่องสแกนเนอร์ไปเชื่อมต่อในลักษณะใด? - คุณจำเป็นต้องนำข้อมูลที่ได้จากการอ่านไปใช้งานทันทีหรือไม่? . โปรดจำไว้ว่าสแกนเนอร์แต่ละชนิดถูกออกแบบมาเหมาะสม กับการใช้งานประเภทหนึ่ง ๆ อย่าตัดสินใช้ซื้อสแกนเนอร์เพียงเพราะคุณใช้ความรู้สึก เครื่องสแกนเนอร์ที่ราคาถูกอาจจะเหมาะสมกับงานที่ใช้เครื่องสแกนเนอร์เป็นครั้งคราวเท่านั้น และคงไม่เหมาะสมกับงานที่ต้องใช้สแกนเนอร์อยู่ตลอดเวลา ดังนั้นจงถามคำถามและพยายามเฟ้นหาคำตอบให้ได้ก่อนการตัดสินใจซื้อเครื่องสแกนเนอร์ . รู้ได้อย่างไรว่าสแกนเนอร์นั้นนำมาใช้งานร่วมกับระบบที่ปัจจุบันใช้อยู่ คุณไม่จำเป็นต้องใช้ซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อนำมา ใช้โอนถ่ายข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ การอ่านและการถอดรหัสนั้นได้ถูกจัดการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จากหัวอ่านและเครื่องถอดรหัสที่อยู่ในเครื่องสแกนเนอร์ ดังนั้นข้อมูลที่โอนเข้าไปยังคอมพิวเตอร์จึงเป็นข้อมูลที่ถูกแปลแล้ว . ถึงแม้ว่าคุณจะไม่มีปัญหาเรื่องซอฟต์แวร์ในส่วนของการโอนย้ายข้อมูลแต่ซอฟต์แวร์ที่คุณมีอยู่อาจจะใช้พิมพ์รหัสแท่งไม่ได้ ซึ่งคุณอาจจะต้องทำการซื้อฉลากที่มีการพิมพ์รหัสแท่งในคุณเป็นที่เรียบร้อยแล้วหรือไม่คุณก็ต้องทำการอัฟเกรด (upgrade) ซอฟต์แวร์ของคุณเพื่อคุณสามารถที่จะพิมพ์รหัสแท่งได้ดัวยตัวของคุณเองไม่ว่าจะเป็นฉลากสำหรับการขนส่งสินค้า การรับของ หรือบัตรประจำตัวพนักงาน ซึ่งมันจะสะดวกสำหรับการทำงานของคุณเป็นอย่างมาก . ซอฟต์แวร์ที่จำเป็นสำหรับการใช้งาน ไม่ว่าคุณจะนำเอาระบบรหัสแท่งไปประยุกต์ใช้งานการจัดการสินค้าคงคลัง การติดตามอาการคนไข้ การรับ-ส่งสินค้า หรือแม้กระทั่งการชำระเงิน คุณจะต้องมีซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมในการใช้งานต่าง ๆ กัน เพื่อทำให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ ซอฟต์แวร์เปรียบเสมือนกับผู้ร่วมหุ้นที่ไม่ออกเสียง ที่ช่วยเหลือจัดการรับ-ส่งข้อความจากสแกนเนอร์และคอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูล เพื่อใช้จัดการธุรกิจ . ไม่ว่าคุณจะทำธุรกิจในอุตสาหกรรมใด หรือลักษณะงานของคุณจะเป็นแนวไหนก็ตาม บริษัทซิมเบิลและบริษัทหุ้นส่วนของเรานั้นสามารถ ที่จะให้ความช่วยเหลือคุณได้ในทุก ๆ ลักษณะของธุรกิจ—ตั้งแต่วางแผนงานและจัดการระบบจัดส่งสินค้า การปฏิบัติงานและการอบรม การบริการงานติดตั้งระบบ การจัดการงานบริการ และอื่น ๆ . การพิมพ์รหัสแท่ง ถ้าคุณมีซอฟต์แวร์ที่ใช้พิมพ์รหัสแท่ง คุณสามารถพิมพ์รหัสแท่งได้เองโดยใช้เครื่องพิมพ์แบบเข็ม เครื่องพิมพ์แบบความร้อน หรือเครื่องพิมพ์เลเซอร์ ถ้าคุณต้องการพิมพ์รหัสแท่งที่มีคุณภาพดีและชัดเจน คุณต้องใช้เครื่องพิมพ์เลเซอร์เท่านั้น นอกจากนั้นแล้วเครื่องพิมพ์เลเซอร์ยังเหมาะที่จะใช้พิมพ์รหัสแท่งจำนวนมาก ๆ ต่อครั้ง หากคุณต้องการพิมพ์รหัสแท่งจำนวนน้อย ๆ แล้ว เครื่องพิมพ์แบบเข็มจะเหมาะสมกว่า ส่วนการพิมพ์โดยใช้ความร้อนนั้นเหมาะสำหรับการพิมพ์รหัสแท่ง บนฉลากที่เป็นม้วน ๆ และนำไปใช้งานได้ทันที สำหรับการจัดพิมพ์รหัสแท่งที่มีจำนวนมาก ๆ แล้ว การพิมพ์โดยใช้ความร้อนนั้นจะเป็นที่นิยมที่สุด เนื่องจากว่าสามารถจัดพิมพ์ได้เร็ว และมีคุณภาพดี การพิมพ์รหัสแท่ง ถ้าคุณมีซอฟต์แวร์ที่ใช้พิมพ์รหัสแท่ง คุณสามารถพิมพ์รหัสแท่งได้เองโดยใช้เครื่องพิมพ์แบบเข็ม เครื่องพิมพ์แบบความร้อน หรือเครื่องพิมพ์เลเซอร์ ถ้าคุณต้องการพิมพ์รหัสแท่งที่มีคุณภาพดีและชัดเจน คุณต้องใช้เครื่องพิมพ์เลเซอร์เท่านั้น นอกจากนั้นแล้วเครื่องพิมพ์เลเซอร์ยังเหมาะที่จะใช้พิมพ์รหัสแท่งจำนวนมากๆ ต่อครั้ง หากคุณต้องการพิมพ์รหัสแท่งจำนวนน้อย ๆ แล้ว เครื่องพิมพ์แบบเข็มจะเหมาะสมกว่า ส่วนการพิมพ์โดยใช้ความร้อนนั้นเหมาะสำหรับการพิมพ์รหัสแท่งบนฉลากที่เป็นม้วน ๆ และนำไปใช้งานได้ทันที สำหรับการจัดพิมพ์รหัสแท่งที่มีจำนวนมาก ๆ แล้ว การพิมพ์โดยใช้ความร้อนนั้นจะเป็นที่นิยมที่สุด เนื่องจากว่าสามารถจัดพิมพ์ได้เร็ว และมีคุณภาพดี . สิ่งที่ควรจำคือ ถ้ารหัสแท่งนั้นมีความแน่นน้อย จะพิมพ์ได้ง่ายและอ่านง่ายกว่ารหัสแท่งที่มีความแน่นมาก เนื่องจากความผิดพลาดจากการพิมพ์จะเกิดขึ้นน้อยกว่า . ประโยชน์จากการประยุกต์ใช้งานรหัสแท่ง ธุรกิจด้านการผลิต ผู้ผลิตสามารถที่จะควบคุมงานบริหารคลังสินค้า และงานบริหารโรงงานเข้าด้วยกันโดยอาศัยวิธีการจัดการ ที่เรียกว่า จัสอินไทม์ (Just in Time) ทุก ๆ ระบบงานจัดการจะถูกเชื่อมเข้าด้วยกันไม่ว่าจะเป็น ระบบงานวางแผนวัสดุ(เอ็มอาร์พี MRP) ระบบการจัดการคลังสินค้า (ดับเบิ้ลยูเอ็มเอส WMS) และระบบการจัดการพื้นที่การผลิต (เอ็มอีเอส MES) . ธุรกิจด้านการจัดส่งสินค้า การนำระบบการจัดการข้อมูลโดยใช้รหัสแท่งมาใช้ร่วมกับการบริหารงาน ด้านจัดส่งสินค้านั้น จะช่วยให้งานบริหารราบรื่นยิ่งขึ้น ระบบการบริหารงานจัดส่งสินค้านั้นได้มีการนำเอาเทคโนโลยี ระบบเครือข่ายรูปแบบต่าง ๆ มาใช้เพื่อช่วยในการบริหาร เช่นการผนวกระบบเครือข่ายแบบแลน (LAN) และแวน (WAN) ไว้ด้วยกัน ระบบการติดตามตำแหน่ง จีพีอาร์เอส (GPRS) แบบไร้สาย การใช้เทคโนโลยีรหัสแท่ง หรือการพัฒนาซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ออกมาเพื่อสามารถสื่อสารกับอุปกรณ์ต่าง ๆ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ส่งผลให้ต้นทุนในการผลิตลดลง และคุณภาพในการให้บริการลูกค้าจะเพิ่มขึ้น . ธุรกิจด้านการขายปลีก ผู้ขายสามารถที่จะควบคุมการหมุนเวียนของสินค้าคงคลังตั้งแต่จุดรับ-ส่งสินค้า จนถึงสินค้าออกจากร้านไป ระบบการจัดการงานขายภายในร้านโดยผ่านเทคโนโลยีแบบไร้สาย ทำให้ประสิทธิผลในการทำงานเพิ่มขึ้น เช่นระบบการปรับ-ตัดราคาสินค้าอัตโนมัติ ระบบการเติมสินค้าในคลัง . ธุรกิจด้านการจัดการสุขภาพ ธุรกิจด้านการจัดการสุขภาพนั้นสามารถนำเอาระบบรหัสแท่งไปช่วย ในการบริหารงาน เพื่อช่วยในการเก็บข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำ และเพิ่มความรวดเร็วในการให้บริการ เริ่มต้นตั้งแต่จากห้องทดลองไปจนถึงโรงพยาบาล คุณสามารถทำการดึงข้อมูลโดยใช้รหัสแท่งได้ทันที เช่นประวัติของคนไข้ หรือข้อมูลเรื่องประกันภัย
ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : ดูข้อมูล เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด เครื่องอ่านบาร์โค้ด รุ่นอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Printer http://www.vayomerchant.com/pos/Barcode-Scanner บริษัทขายส่ง เครื่องอ่านบาร์โค้ด และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร บริษัทขายส่ง อุปกรณ์ POS & IT และ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด ครบวงจร การใช้บาร์โค้ดในอุตสาหกรรม